สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558
สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558

สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558

เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2558 สุริยุปราคาเกิดเมื่อดวงจันทร์ผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ฉะนั้นจึงขวางภาพดวงอาทิตย์ทั้งหมดหรือบางส่วนแก่ผู้สังเกตบนโลก สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดเมื่อเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงจันทร์ใหญ่กว่าเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงอาทิตย์ จึงสกัดแสงอาทิตย์โดยตรงทั้งหมด แล้วทำให้ความมืดปกคลุม คราสเต็มดวง (totality) เกิดในวิถีแคบผ่านพื้นผิวโลกโดยสามารถเห็นสุริยุปราคาบางส่วนได้เหนือภูมิภาคโดยรอบกว้างหลายพันกิโลเมตรมีโชติมาตร (magnitude) 1.045 ช่วงเวลาคราสเต็มดวงนานที่สุด คือ 2 นาที 47 วินาที นอกหมู่เกาะแฟโร เป็นสุริยุปราคาเต็มดวงสุดท้ายที่เห็นได้ในทวีปยุโรปจนอุปราคา 12 สิงหาคม พ.ศ. 2569[1]

สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558

แซรอส 120
แกมมา 0.9454
ประเภท เต็มดวง
ความส่องสว่าง 1.0445
บดบังมากที่สุด 9:46:47
ความกว้างของเงามืด 463 กิโลเมตร
บัญชี # (SE5000) 9541
ระยะเวลา 2 นาที 47 วินาที
พิกัด 64.4N 6.6W

ใกล้เคียง

สุริยุปราคา สุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559 สุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560 สุริยุปราคา 21 มิถุนายน พ.ศ. 2563 สุริยุปราคา 14 ธันวาคม พ.ศ. 2563 สุริยุปราคา 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 สุริยุปราคา 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558 สุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 สุริยุปราคา 8 เมษายน พ.ศ. 2567

แหล่งที่มา

WikiPedia: สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558 http://astrobob.areavoices.com/2015/03/20/eclipse-... http://www.theguardian.com/science/live/2015/mar/2... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEcat5/SE2001-2100.ht... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEgoogle/SEgoogle2001... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEplot/SEplot2001/SE2... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEsearch/SEdata.php?E... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEsearch/SEsearchmap.... http://earthsky.org/tonight/in-2015-the-first-of-s... http://thaiastro.nectec.or.th/skyevnt/eclipses/201... http://www.telegraph.co.uk/news/science/science-ne...