เชิงอรรถและอ้างอิง ของ Lateral_geniculate_nucleus

  1. ศ.พญ. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์ (พ.ศ. 2556). ประสาทกายวิภาคศาสตร์พื้นฐาน (ฺBasic neuroanatomy). กรุงเทพมหานคร: ศ.พญ. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์. pp. 253–254. ISBN 978-616-335-105-0. Check date values in: |year= (help)
  2. 1 2 3 retinal ganglion cell (ตัวย่อ RGC แปลว่า เซลล์ปมประสาทในเรตินา) เป็นเซลล์ประสาทประเภทหนึ่ง ซึ่งอยู่ใกล้ ๆ ผิวด้านใน (ในชั้นเซลล์ปมประสาท) ของเรตินา RGC รับข้อมูลสายตามาจากตัวรับแสง (photoreceptor) ผ่านเซลล์ประสาทอีกกลุ่มหนึ่ง คือ bipolar cell และ amacrine cell แล้วส่งข้อมูลสายตาที่ทำให้เกิดการเห็นและที่ไม่ทำให้เกิดการเห็น ไปยังเขตต่าง ๆ ในทาลามัส ไฮโปทาลามัส และสมองส่วนกลาง
  3. reticular activating system (RAS) หรือ extrathalamic control modulatory system เป็นเซตของนิวเคลียสเซลล์ประสาทต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อกันในสมองของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ทำหน้าที่ควบคุมความตื่นตัว และการตื่นหลับ (sleep-wake transitions) ระบบย่อยที่สำคัญที่สุดของ RAS คือ reticular formation
  4. Kandel, Eric R.; Schwartz, James H.; Jessell, Thomas M.; Siegelbaum, Steven A.; Hudspeth, A.J. (2013). Principles of Neural Science Fifth Edition. United State of America: McGraw-Hill. p. 573. ISBN 978-0-07-139011-8.
  5. Cudeiro, Javier (2006). "Looking back: corticothalamic feedback and early visual processing". Trends in Neurosciences. 29 (6): 298–306. doi:10.1016/j.tins.2006.05.002. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  6. Goodale, M. & Milner, D. (2004) Sight unseen.Oxford University Press, Inc.: New York.
  7. นิวโรพิว (neuropil) เป็นบทกว้าง ๆ มีนิยามว่า เขตภายในระบบประสาทที่ประกอบด้วยแอกซอนที่ไม่มีปลอกไมอีลิน เดนไดรต์ และ เซลล์เกลีย โดยมาก ประกอบกันเป็นเขตที่มีไซแนปส์หนาแน่น ที่มีตัวเซลล์น้อยกว่ามาก
  8. Carlson, N. R. (2007) Physiology of Behavior: ninth edition. Pearson Education, Inc.: Boston.
  9. White, B.J., Boehnke, S.E., Marino, R.A., Itti, L. and Munoz, D.P. (2009) . Color-Related Signals in the Primate Superior Colliculus, The Journal of Neuroscience, 29 (39), 12159-12166. http://www.jneurosci.org/content/29/39/12159.abstract.
  10. Goodale & Milner, 1993, 1995.
  11. ให้สังเกตว่า ลานสายตาด้านขวานั้นมาจากด้านซ้ายของเรตินาในตาทั้งสอง และลานสายด้านซ้ายมาจากด้านขวาของเรตินา เพราะว่า ภาพที่ฉายเข้าไปในนัยน์ตาแล้วกระทบกับเรตินานั้น เป็นภาพกลับด้าน
  12. Nicholls J., et al. From Neuron to Brain: Fourth Edition. Sinauer Associates, Inc. 2001.
  13. Rosa MG, Pettigrew JD, Cooper HM (1996) Unusual pattern of retinogeniculate projections in the controversial primate Tarsius. Brain Behav Evol 48 (3) :121–129.
  14. Collins CE, Hendrickson A, Kaas JH (2005) Overview of the visual system of Tarsius. Anat Rec A Discov Mol Cell Evol Biol 287 (1) :1013–1025.
  15. ในบทที่ 7 หัวข้อย่อย "The Parcellation Hypothesis" ในหัวข้อว่า "Principles of Brain Evolution"Georg F. Striedter (Sinauer Associates, Sunderland, MA, USA, 2005) ได้กล่าวว่า"...ในปัจจุบันเรารู้แล้วว่า LGN ได้รับข้อมูลบางส่วนจาก optic tectum (ซึ่งก็คือ superior colliculus) สำหรับสัตว์ใน clade 'amniota'"โดยอ้างอิง"Wild, J.M. 1989. Pretectal and tectal projections to the homolog of the dorsal lateral geniculate nucleus in the pigeon—an anterograde and retrograde tracing study with cholera-toxin conjugated to horseradish-peroxidase. Brain Res 489: 130–137" และ "Kaas, J.H., and Huerta, M.F. 1988. The subcortical visual system of primates. In: Steklis H. D., Erwin J., editors. Comparative primate biology, vol 4: neurosciences. New York: Alan Liss, pp. 327–391.
  16. internal capsule เป็นเขตเนื้อขาวในสมองที่แยก caudate nucleus กับทาลามัส จาก putamen กับ globus pallidus. internal capsule มีทั้งแอกซอนที่ส่งขึ้นไปยังเขตสมองที่สูงกว่า และที่ส่งลงไปยังระบบประสาทที่ต่ำกว่า
  17. Schmid, Michael C. (2010). "Blindsight depends on the lateral geniculate nucleus". Nature. 466 (7304): 373–377. doi:10.1038/nature09179. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  18. Kandel 2013 หน้า 561 แสดงการเชื่อมต่อทั้งด้านไปและด้านกลับระหว่าง V1 กับ V2, V3, และ V4

แหล่งที่มา

WikiPedia: Lateral_geniculate_nucleus http://www.medicalmnemonics.com/cgi-bin/lookup.cfm... http://www.mercksource.com/pp/us/cns/cns_hl_dorlan... http://soma.npa.uiuc.edu/labs/malpeli/home.html http://braininfo.rprc.washington.edu/Scripts/hierc... http://brainmaps.org/index.php?q=lateral%20genicul... http://brainmaps.org/index.php?q=lgn //doi.org/10.1016%2Fj.tins.2006.05.002 //doi.org/10.1038%2Fnature09179 http://www.jneurosci.org/content/29/39/12159.abstr... https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Latera...