กฎการดูดกลืน

ในพีชคณิต กฎการดูดกลืน (อังกฤษ: absorption law) คือเอกลักษณ์อย่างหนึ่งที่เชื่อมโยงการดำเนินการทวิภาคสองอย่างสำหรับการดำเนินการทวิภาคใดๆ สองอย่าง สมมติให้เป็น $ กับ % จะนำไปสู่กฎการดูดกลืนถ้าหากจะเห็นว่าผลสุดท้าย b หายไป เหลือแต่ a การดำเนินการ $ กับ % จะเรียกว่าเป็น dual pairกำหนดให้เซตบางเซตมีสมบัติการปิดภายใต้การดำเนินการทั้งสองนี้ ถ้าการดำเนินการดังกล่าวมีสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ และเป็นไปตามกฎการดูดกลืน พีชคณิตนามธรรมที่เกิดขึ้นจะเป็นแลตทิซ (lattice) ตัวอย่างการดำเนินการที่เข้ากับกรณีนี้เช่น meet/join และ and/or เป็นต้น และเนื่องจากสมบัติการสลับที่กับการเปลี่ยนหมู่ มักจะมีในโครงสร้างเชิงพีชคณิตอื่นๆ (อาทิการบวกและการคูณจำนวนจริง) กฎการดูดกลืนจะเป็นสมบัติที่นิยามขึ้นของแลตทิซ ดังเช่นพีชคณิตแบบบูลหรือพีชคณิตเฮย์ทิง (Heyting algebra) ต่างก็เป็นแลตทิซ ดังนั้นจึงเป็นไปตามกฎการดูดกลืนด้วย จากตัวอย่างนี้

ใกล้เคียง

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเค็พเพลอร์ กฎการพาดหัวของเบ็ทเทอร์ริดจ์ กฎการปะทะ กฎการอนุรักษ์ กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ กฎการแผ่รังสีความร้อนของเคียร์ชฮ็อฟ กฎการสลับที่ กฎการดูดกลืน กฎการมีตัวอย่างน้อย