กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน
กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน

กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน

กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน เป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิเรเนียน ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน จากรายงานใน พ.ศ. 2548 กลุ่มภาษาอินโด-อารยันมีความแตกต่างกันถึง 209 แบบ มีจำนวนผู้พูดเป็นภาษาแม่มาก ได้แก่ ภาษาฮินดูสถาน (ภาษาฮินดีและภาษาอูรดูรวม 540 ล้านคน) ภาษาเบงกอล (ราว 200 ล้านคน) ภาษาปัญจาบ (ราว 100 ล้านคน) ภาษามราฐี (ราว 90 ล้านคน) ภาษาคุชราต (ราว 45 ล้านคน) ภาษาเนปาล (ราว 40 ล้านคน) ภาษาโอริยา (ราว 30 ล้านคน) ภาษาสินธี (ราว 20 ล้านคน) และ ภาษาอัสสัม (ราว 14 ล้านคน) รวมมีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากกว่า 900 ล้านคน

กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน

กลอตโตลอก: indo1321[1]
การจําแนกทางภาษาศาสตร์: อินโด-ยูโรเปียน
หอดูดาวลิงกัวสเฟียร์: 59= (phylozone)
ISO 639-2 / 5: inc
ภาษาดั้งเดิม: อินโด-อารยันดั้งเดิม
ภูมิภาค: เอเชียใต้

ใกล้เคียง

กลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย กลุ่มเซ็นทรัล กลุ่มภาษาจีน กลุ่มอาการขาดยาเบ็นโซไดอาเซพีน กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ กลุ่มเดอะมอลล์ กลุ่มอาการมาร์แฟน กลุ่มอาการมือแปลกปลอม กลุ่ม 20 กลุ่ม 7