การกำหนดรู้การทรงตัว
การกำหนดรู้การทรงตัว

การกำหนดรู้การทรงตัว

การกำหนดรู้การทรงตัว[1](อังกฤษ: sense of balance, equilibrioception)เป็นประสาทสัมผัสเกี่ยวกับการทรงตัวซึ่งช่วยให้มนุษย์และสัตว์ต่าง ๆ ทรงตัวได้โดยไม่ล้มเมื่อยืนหรือไปเป็นผลการทำงานร่วมกันของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย คือ ตา (ระบบการเห็น) หู (ระบบกำหนดรู้การทรงตัว) และการรู้แนวทิศทางของร่างกาย (การรับรู้อากัปกิริยา)ระบบกำหนดรู้การทรงตัว (vestibular system) เป็นบริเวณในหูชั้นในที่หลอดกึ่งวงกลม (semicircular canal) 3 หลอดมารวมกัน ซึ่งทำงานร่วมกับระบบการเห็นเพื่อรักษาโฟกัสที่วัตถุหนึ่ง ๆ เมื่อศีรษะกำลังเคลื่อนที่การทำงานร่วมกันเช่นนี้เรียกว่า vestibulo-ocular reflex (VOR)[2]ระบบการทรงตัวทำงานกับระบบการเห็น กล้ามเนื้อข้อต่อร่วมกับตัวรับรู้ของมัน เพื่อรักษาแนวทิศทางและการทรงตัวของร่างกาย

ใกล้เคียง

การกำหนดที่ตั้งวัตถุด้วยเสียงสะท้อนในมนุษย์ การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน การกำหนดรู้การทรงตัว การกำหนดค่า การกำหนดเพศ การกำจัดโรคโปลิโอ การกำหนดช่วงเวลาของอียิปต์โบราณ การกำหนดอาหาร การกำซาบ การกำหนดความสมเหตุสมผลโดยอัตวิสัย

แหล่งที่มา

WikiPedia: การกำหนดรู้การทรงตัว http://pages.jh.edu/~gazette/1999/mar0899/08bone.h... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10651428 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/11710468 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16222184 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19453506 //doi.org/10.1016%2Fs0196-0709(00)80105-2 //doi.org/10.1111%2Fj.1399-3054.2009.01230.x http://www.hopkinsmedicine.org/hmn/S99/mu_8.html https://www.sciencedaily.com/articles/e/equilibrio... https://www.sciencedirect.com/topics/neuroscience/...