การข่มเหงรังแก
การข่มเหงรังแก

การข่มเหงรังแก

การข่มเหงรังแก หรือ การกลั่นแกล้ง (อังกฤษ: Bullying) เป็นการใช้กำลัง, การขู่เข็ญหรือการข่มขู่ เพื่อทำร้าย, ครอบงำอย่างเกรี้ยวกราด หรือ ข่มขู่ พฤติกรรมนี้มักเกิดขึ้นซ้ำไปมาและเกิดเป็นนิสัย สิ่งที่นำมาสู่การข่มเหงรังแกคือการรับรู้เข้าใจ (perception) ทั้งของผู้รังแกและผู้ถูกรังแก ถึงความไม่สมดุลกันของอำนาจทางสังคมหรือทางกายภาพ การเกิดความไม่สมดุลของอำนาจนี้ใช้ในการแยกความแตกต่างระหว่างการข่มเหงรังแก (bullying) จากความขัดแย้ง (conflict)[1] การข่มเหงรังแกเป็นกลุ่มย่อยของความประพฤติที่เกรี้ยวกราด (aggressive behavior) ซึ่งมีลักษณะประกอบด้วยเกณฑ์ดังต่อไปนี้: (1) ความตั้งใจเป็นปริปักษ์ (hostile intent), (2) ความไม่สมดุลของอำนาจ (imbalance of power) และ (3) การเกิดขึ้นซ้ำ ๆ (repetition over a period of time)[2]การข่มเหงรังแกในโรงเรียนและที่ทำงานสามารถแแเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "peer abuse"[3] วัฒนธรรมการข่มเหงรังแกสามารถปรากฏได้ในบริบทที่ซึ่งมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น ในโรงเรียน, ครอบครัว, ที่ทำงาน,[4] บ้าน และ ชุมชน สื่อกลางหลักในการข่มเหงรังแกในวัฒนธรรมร่วมสมัยคือผ่านทางสื่อสังคมและเว็บไซต์[5]

ใกล้เคียง

การข่มขืนกระทำชำเรา การข่มขืนสตรีชาวซาบีน การข่มเหงรังแก การข่มขืนกระทำชำเราแฟน การข่มขืนที่นานกิง การข่มขู่ การข่มข้ามคู่ การข่มเหงรังแกในโรงเรียน การข่มขืนพรอสเซอร์พินา การแข่งขันระหว่างสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลกับสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด

แหล่งที่มา

WikiPedia: การข่มเหงรังแก http://www.bullyingnoway.com.au/ http://www.eric.ed.gov/ERICWebPortal/search/simple... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/23937767 http://bullyonline.org/index.php //doi.org/10.1016%2Fj.tate.2015.07.004 //doi.org/10.1146%2Fannurev-psych-010213-115030 http://pbskids.org/itsmylife/friends/bullies/print... http://www.dfes.gov.uk/bullying https://books.google.com/books?id=GF06aB7mLdIC https://www.psychologytoday.com/blog/wired-success...