การตรวจพิจารณาในประเทศไทย

การตรวจพิจารณาในประเทศไทยมีประวัติอย่างยาวนาน การก่อกวน การชักใยและการควบคุมข่าวการเมืองอย่างเข้มงวดเป็นเรื่องปกติในรัฐบาลทุกสมัยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ประกันเสรีภาพในการพูด และการประกันเสรีภาพดังกล่าวดำเนินต่อมาในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กลไกในการตรวจพิจารณารวมถึงกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่เข้มงวด การควบคุมโดยตรงของรัฐบาลหรือทหารต่อสื่อแพร่สัญญาณ และการใช้แรงกดดันทางเศรษฐกิจและการเมือง[1] การวิพากษ์วิจารณ์พระมหากษัตริย์ถูกห้ามตามรัฐธรรมนูญ แม้คดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยส่วนใหญ่มุ่งไปยังคนต่างด้าว หรือคู่แข่งของผู้นำการเมือง สังคมและพาณิชย์ที่เป็นชาวไทย[2]ในการสำรวจดัชนีเสรีภาพสื่อทั่วโลก จัดโดยผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 59 จาก 167 ประเทศในปี 2547[3] แล้วร่วงลงเป็นอันดับที่ 107 ในปี 2548[4] และไปอยู่อันดับที่ 153 จาก 178 ประเทศในปี 2554[5] แล้วค่อยขึ้นมาอยู่อันดับที่ 137 จาก 179 ประเทศในปี 2555[6]

ใกล้เคียง

การตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์ การตรวจโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การตรึงพระเยซูที่กางเขน การตรวจพิจารณาในประเทศไทย การตรวจปัสสาวะ การตรวจการทำงานของตับ การตรวจสอบความปลอดภัยข้อมูล การตรวจสถานที่เกิดเหตุ การตรวจเลือด การตรวจลงตรา

แหล่งที่มา

WikiPedia: การตรวจพิจารณาในประเทศไทย http://asiancorrespondent.com/44124/thailand-lifts... http://asiancorrespondent.com/61962/as-opposition-... http://www.asiasentinel.com/index.php?option=com_c... http://www.bangkokbiznews.com/2007/05/03/WW06_0602... http://www.bangkokpost.com/tech/technews/31336/com... http://pages.citebite.com/b1u2r1x6o0eeg http://articles.cnn.com/2010-12-21/world/thailand.... http://www.deseretnews.com/article/700139296/Thail... http://translate.google.com/translate?sl=auto&tl=e... http://translate.google.com/translate?sl=auto&tl=e...