การถ่ายภาพจอประสาทตา
การถ่ายภาพจอประสาทตา

การถ่ายภาพจอประสาทตา

บทความนี้ใช้ระบบคริสต์ศักราช เพราะอ้างอิงคริสต์ศักราชและคริสต์ศตวรรษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่งการถ่ายภาพจอประสาทตา หรือ การถ่ายภาพจอตา[1][2][3][4](อังกฤษ: Fundus photography)เป็นการถ่ายรูปด้านหลังตา คือก้นตา (fundus) หรือจอประสาทตากล้องที่ทำโดยเฉพาะจะมีกล้องจุลทรรศน์ที่ซับซ้อนติดกับแฟลชเพื่อให้สามารถใช้ถ่ายจอตาได้โครงสร้างในตาที่สามารถเห็นได้ในภาพรวมทั้งจอตาทั้งส่วนตรงกลางและรอบ ๆ, จานประสาทตา (optic disc) และจุดภาพชัด (macula)อาจถ่ายใช้ฟิลเตอร์สี หรือใช้สีฉีดรวมทั้งฟลูออเรสซีน (fluorescein) และ indocyanine green เพื่อให้เห็นความผิดปกติต่าง ๆ[5]เครื่องและเทคโนโลยีที่ใช้ถ่ายภาพจอตาได้พัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วภายในศตวรรษที่ผ่านมา[6]เนื่องจากเป็นเครื่องมือที่ซับซ้อนและผลิตให้ได้มาตรฐานได้ยาก จึงมีวางขายในตลาดเพียงไม่กี่ยี่ห้อบริษัทผู้ผลิตตัวอย่างรวมทั้ง Welch Allyn, Digisight, Volk, Topcon, Zeiss, แคนนอน, Nidek, Kowa, CSO, CenterVue และ Ezer[7]

การถ่ายภาพจอประสาทตา

ICD-9-CM 95.11

ใกล้เคียง

การถ่ายโอนสัญญาณ การถ่ายเทยีน การถ่ายภาพจอประสาทตา การถ่ายเทความร้อน การถ่ายแบบดีเอ็นเอ การถ่ายภาพรังสีระนาบด้วยการปล่อยโพซิตรอน การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ การถ่ายภาพเคอร์เลียน การถ่ายทอดสดผ่านสัญญาณต่อเนื่อง การถ่ายเลือด

แหล่งที่มา

WikiPedia: การถ่ายภาพจอประสาทตา http://www.aetna.com/cpb/medical/data/500_599/0539... http://bjo.bmj.com/content/52/2/200 http://icd9cm.chrisendres.com/index.php?srchtype=p... http://www.eyeic.com http://www.jove.com/video/51904 http://patents.justia.com/patent/5120122 http://journals.lww.com/optvissci/fulltext/2002/08... http://optometrytimes.modernmedicine.com/optometry... http://search.proquest.com/docview/822528795?accou... http://www.sukumvithospital.com/content.php?id=71