เชิงอรรถและอ้างอิง ของ การรับรู้อากัปกิริยา

  1. 1 2 3 "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ proprioception ว่า "การรับรู้อากัปกิริยา" และของ proprioceptor ว่า "ปลายประสาทรับรู้อากัปกิริยา"
  2. 1 2 3 4 5 ศ.พญ. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์ (พ.ศ. 2556). ประสาทกายวิภาคศาสตร์พื้นฐาน (ฺBasic neuroanatomy). กรุงเทพมหานคร: ศ.พญ. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์. p. 214. ISBN 978-616-335-105-0. Check date values in: |year= (help)
  3. 1 2 3 4 5 ให้สังเกตให้ดีว่า คำว่า "proprioception" นั้น เป็นคำที่ชาลส์ สก็อตต์ เชอร์ริงตัน ได้บัญญัติขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1906 เป็นคำที่ได้ใช้สืบกันมาที่อาจจะมีความหมายต่าง ๆ กันแล้วแต่แต่ละคนจะนิยามแล้วแต่สถานการณ์ คำนิยามที่ใกล้กับที่เชอร์ริงตันได้บัญญัติไว้รวมการรับรู้การเคลื่อนไหว การรับรู้ตำแหน่งข้อต่อ และการกำหนดความสมดุล (การทรงตัว) ซึ่งเป็นการรับรู้ที่เป็นคำนิยามของคำว่า "proprioceptive sense" ด้วย แต่ว่า ในปัจจุบัน โดยเฉพาะในเอกสารหนังสือวิชาการที่แยกระบบรับความรู้สึกทางกาย (somatosensory system) และระบบการทรงตัว (vestibular system) ออกจากกัน proprioception มักจะหมายถึงการรับรู้การเคลื่อนไหวและตำแหน่งข้อต่อ (ซึ่งเป็นส่วนของระบบรับความรู้สึกทางกาย) เท่านั้น ไม่รวมการกำหนดความสมดุล (ซึ่งเป็นส่วนของระบบการทรงตัว) (ดู Kandel 2000 และมหรรฆานุเคราะห์ 2556) บทความนี้แปลมาจากบทความวิกิพีเดียภาษาอังกฤษเป็นหลัก ที่ดูเหมือนจะกล่าวถึงคำนิยามทั้งสองนั้นรวม ๆ กันไป เช่นคำจำกัดความด้านบนไม่ได้รวมระบบการทรงตัว แต่รวมในเนื้อหาขององค์ประกอบที่กล่าวอย่างคลุมเครือถึงความหมายของ proprioception ผู้อ่านพึงใช้วิจารณญาณว่า ความทรงตัว (balance) และความสมดุล (equilbrium) นั้นควรจะเป็นส่วนหนึ่งของ proprioception ในบริบทหรือไม่ เช่นถ้ากล่าวถึง proprioception ของ somatosensory system ก็ไม่พึงรวมความทรงตัวในความหมายอย่างแน่นอน (จากผู้แปล)
  4. Kandel, Eric R.; Schwartz, James H.; Jessell, Thomas M. (2000). Principles of Neural Science Fourth Edition. United State of America: McGraw-Hill. p. 444. ISBN 0-8385-7701-6.
  5. Jerosch, Jörg; Heisel, Jürgen (May 2010). Management der Arthrose: Innovative Therapiekonzepte (in German). Deutscher Ärzteverlag. p. 107. ISBN 978-3-7691-0599-5. สืบค้นเมื่อ 8 April 2011.CS1 maint: Unrecognized language (link)
  6. Singh, Arun Kumar (September 1991). The Comprehensive History of Psychology. Motilal Banarsidass Publ. p. 66. ISBN 978-81-208-0804-1. สืบค้นเมื่อ 8 April 2011.
  7. Dickinson, John (1976). Proprioceptive control of human movement. Princeton Book Co. p. 4. สืบค้นเมื่อ 8 April 2011.
  8. Foster, Susan Leigh (15 December 2010). Choreographing Empathy: Kinesthesia in Performance. Taylor & Francis. p. 74. ISBN 978-0-415-59655-8. สืบค้นเมื่อ 8 April 2011.
  9. Brookhart, John M.; Mountcastle, Vernon B. (Vernon Benjamin); Geiger, Stephen R. (1984). The Nervous system: Sensory processes ; volume editor: Ian Darian-Smith. American Physiological Society. p. 784. ISBN 978-0-683-01108-1. สืบค้นเมื่อ 8 April 2011.
  10. muscle spindle เป็นตัวรับความรู้สึกในกล้ามเนื้อที่ตรวจจับความเปลี่ยนแปลงความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ แล้วส่งข้อมูลไปยังระบบประสาทกลาง
  11. Pacinian corpuscle เป็นหนึ่งในตัวรับแรงกล (mechanoreceptor) หลัก 4 อย่าง เป็นปลายประสาทมีเปลือกหุ้มในผิวหนัง มีความไวต่อความสั่นสะเทือนและแรงกด (pressure) ความไวต่อความสั่นสะเทือนสามารถใช้เพื่อรับรู้ผิวของวัตถุว่าขรุขระหรือเรียบ
  12. 1 2 Proske, U; Gandevia, SC (2009). "The kinaesthetic senses". The Journal of Physiology. 587 (Pt 17): 4139–4146. doi:10.1113/jphysiol.2009.175372. PMC 2754351. PMID 19581378.
  13. Winter, JA; Allen, TJ; Proske, U (2005). "Muscle spindle signals combine with the sense of effort to indicate limb position". The Journal of physiology. 568 (Pt 3): 1035–46. doi:10.1113/jphysiol.2005.092619. PMC 1464181. PMID 16109730.
  14. Collins, DF; Refshauge, KM; Todd, G; Gandevia, SC (2005). "Cutaneous receptors contribute to kinesthesia at the index finger, elbow, and knee". Journal of neurophysiology. 94 (3): 1699–706. doi:10.1152/jn.00191.2005. PMID 15917323.
  15. 1 2 Konradsen, L (2002). "Factors Contributing to Chronic Ankle Instability: Kinesthesia and Joint Position Sense". Journal of Athletic Training. 37 (4): 381–385. PMC 164369. PMID 12937559.
  16. Dover, G; Powers, ME (2003). "Reliability of Joint Position Sense and Force-Reproduction Measures During Internal and External Rotation of the Shoulder". Journal of Athletic Training. 38 (4): 304–310. PMC 314388. PMID 14737211.
  17. Feuerbach, JW; Grabiner, MD; Koh, TJ; Weiker, GG (1994). "Effect of an ankle orthosis and ankle ligament anesthesia on ankle joint proprioception". The American journal of sports medicine. 22 (2): 223–9. doi:10.1177/036354659402200212. PMID 8198191.
  18. Sherrington CS (1907). "On the proprioceptive system, especially in its reflex aspect". Brain. 29 (4): 467–85. doi:10.1093/brain/29.4.467.
  19. แม่แบบ:Cite PMID
  20. แม่แบบ:Cite PMID
  21. Xenopus laevis เป็นชื่อสปีชีส์ของกบในทวีปอัฟริกาใต้มีลักษณะพิเศษคือมีเล็บสั้น ๆ 3 เล็บที่ใช้ฉีกเนื้อสัตว์ที่เป็นอาหาร
  22. แม่แบบ:Cite PMID
  23. แม่แบบ:Cite PMID
  24. Robles-De-La-Torre G, Hayward V (2001). "Force can overcome object geometry in the perception of shape through active touch" (PDF). Nature. 412 (6845): 445–8. doi:10.1038/35086588. PMID 11473320.
  25. the MIT Technology Review article "The Cutting Edge of Haptics"
  26. Fix, James D. (2002). Neuroanatomy. Hagerstown, MD: Lippincott Williams & Wilkins. p. 127. ISBN 0-7817-2829-0.
  27. Swenson RS. "Review of Clinical and Functional Neuroscience, Chapter 7A: Somatosensory Systems". (online version Dartmouth college). สืบค้นเมื่อ 2008-04-10.
  28. Siegel, Allan (2010). Essential Neuroscience. Lippincott Williams & Wilkins. p. 263.
  29. http://erikdalton.com/NewslettersOnline/Feb06Newsletter.htm
  30. Introduction to Neurology, 2nd Edition 1976, A.C.Palmer, Blackwell Scientific, Oxford
  31. Goble, DJ; Noble, BC; Brown, SH (2010). "Where was my arm again? Memory-based matching of proprioceptive targets is enhanced by increased target presentation time" (PDF). Neuroscience letters. 481 (1): 54–8. doi:10.1016/j.neulet.2010.06.053. PMID 20600603.
  32. Goble, DJ (2010). "Proprioceptive acuity assessment via joint position matching: From basic science to general practice". Physical therapy. 90 (8): 1176–84. doi:10.2522/ptj.20090399. PMID 20522675.
  33. 1 2 3 4 5 6 7 Kandel, Eric R.; Schwartz, James H.; Jessell, Thomas M.; Siegelbaum, Steven A.; Hudspeth, A.J. (2013). Principles of Neural Science Fifth Edition. United State of America: McGraw-Hill. ISBN 978-0-07-139011-8.
  34. Lanska DJ, Goetz CG (2000). "Romberg's sign: development, adoption, and adaptation in the 19th century". Neurology. 55 (8): 1201–6. PMID 11071500. Unknown parameter |month= ignored (help); line feed character in |title= at position 16 (help)
  35. sensory ataxia เป็นกลุ่มอาการในประสาทวิทยา เป็นภาวะ ataxia (การสูญเสียการทำงานร่วมกันในระบบประสาท) ประเภทหนึ่งที่เกิดจากการสูญเสียข้อมูลความรู้สึกในระบบสมองที่ควบคุมการเคลื่อนไหว
  36. 1 2 โอลิเว่อร์ แซกส์ เป็นนักประสาทวิทยาชาวอเมริกัน-อังกฤษ รู้จักในฐานะเป็นศาสตราจารย์ในคณะประสาทวิทยาและจิตเวชที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ได้เขียนหนังสือที่มีชื่อเสียงหลายเล่ม
  37. Sacks, O. "The Disembodied Lady", in The Man Who Mistook His Wife for a Hat and his autobiographical case study A Leg to Stand On.
  38. กระดานทรงตัว (balance board) เป็นอุปกรณ์ใช้เพื่อการผ่อนคลาย การฝึกการทรงตัว การฝึกนักเล่นกีฬา การช่วยพัฒนาสมอง การฟื้นฟูบำบัด การฝึกนักดนตรี และการพัฒนาส่วนตัวประเภทอื่น ๆ มีลักษณะเป็นคานงัดเหมือนไม้กระดานหกที่ใช้ยืน โดยมีเท้าอยู่ในปลายตรงกันข้ามของกระดาน ผู้ใช้ก็จะทรงตัวบนกระดานไม่ให้ปลายกระดานกระทบกับพื้น และไม่ให้ตนเองตกลงจากกระดาน
  39. cheng man ch'ing. T'ai Chi Ch'uan. Blue Snake Books usa. pp. 86, 88. ISBN 978-0-913028-85-8.
  40. ลูกบอลเพื่อออกกำลังกาย (exercise ball) ทำด้วยยางมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 35-85 ซ.ม. และเติมเต็มด้วยลม ใช้ในกายภาพบำบัด การฝึกหัดนักกีฬา และการออกกำลังกาย
  41. สัญญาณบอกเหตุ (aura) เป็นความปั่นป่วนในการรับรู้ความรู้สึกที่ผู้ป่วยไมเกรนประสบก่อนที่ไมเกรนจะเกิด หรือเป็นความรู้สึกที่เป็นลักษณะเฉพาะที่ผู้ป่วยโรคชักประสบก่อนหรือหลังการชัก
  42. Ehrsson H, Kito T, Sadato N, Passingham R, Naito E (2005). "Neural substrate of body size: illusory feeling of shrinking of the waist". PLoS Biol. 3 (12): e412. doi:10.1371/journal.pbio.0030412. PMC 1287503. PMID 16336049.CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  43. Pinocchio illusion เป็นการหลอกความรู้สึกที่ทำให้เหมือนว่า จมูกตนเองกำลังยาวขึ้นเหมือนกับตัวละครในนิทานเด็ก "พิน็อคคิโอ" ที่มีจมูกยาวขึ้นเมื่อกำลังโกหก เพื่อจะมีประสบการณ์เช่นนี้ ให้ใช้เครื่องสั่นแนบที่เส้นเอ็นของกล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ที่แขนด้านบน ในขณะที่ให้จับจมูกด้วยมือของแขนนั้น เครื่องสั่นจะกระตุ้นตัวรับความรู้สึก muscle spindle ในกล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ ที่ปกติเกิดขึ้นเพราะการยืดออกของกล้ามเนื้อ ก่อให้เกิดการหลอกความรู้สึกว่า แขนนั้นกำลังเคลื่อนออกไปจากใบหน้า และเพราะว่านิ้วมือที่กำลังจับจมูกก็ยังส่งข้อมูลสัมผัสไปยังระบบประสาทว่า ยังจับจมูกอยู่ จึงปรากฏเหมือนกับว่า จมูกนั้นกำลังยืดออกไปจากใบหน้าด้วย
  44. Weeks, S.R., Anderson-Barnes, V.C., Tsao, J. (2010) . "Phantom limb pain: Theories and therapies". The Neurologist 16 (5) : 277–286.
  45. Castori M (2012). "Ehlers-danlos syndrome, hypermobility type: an underdiagnosed hereditary connective tissue disorder with mucocutaneous, articular, and systemic manifestations". ISRN Dermatol. 2012: 751768. doi:10.5402/2012/751768. PMC 3512326. PMID 23227356.
  46. Robles-De-La-Torre G (2006). "The Importance of the Sense of Touch in Virtual and Real Environments" (PDF). IEEE Multimedia. 13 (3): 24–30. doi:10.1109/MMUL.2006.69.

ใกล้เคียง

การรับรู้รส การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย การรับรู้อากัปกิริยา การรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ การรับรู้สนามแม่เหล็ก การรับรู้ไฟฟ้า การรักษามะเร็งแบบทางเลือก การรับมือโดยใช้อารมณ์ (จิตวิทยา) การรับรู้ความใกล้ไกล การรับมือ (จิตวิทยา)

แหล่งที่มา

WikiPedia: การรับรู้อากัปกิริยา http://www.abc.net.au/rn/allinthemind/stories/2005... http://www.reumatologia-dr-bravo.cl/para%20medicos... http://erikdalton.com/NewslettersOnline/Feb06Newsl... http://www.everything2.com/index.pl?node_id=690040 http://www.flexor.com/sites/default/files/media/me... http://books.google.com/books?id=CI8XAQAAMAAJ http://books.google.com/books?id=MDWuaqZiHZcC&pg=P... http://books.google.com/books?id=dXZnwvs6gYIC&pg=P... http://books.google.com/books?id=n7fwAAAAMAAJ http://books.google.com/books?id=p8-2j4d-hqwC&pg=P...