การเดินทางข้ามเวลาในนวนิยาย ของ การเดินทางข้ามเวลา

ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่: การเดินทางข้ามเวลาในนวนิยาย

แก่นเรื่องหรือประเด็นหลักของการเดินทางข้ามเวลาในนิยายวิทยาศาสตร์และในสื่อต่าง ๆ โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ คือ แนวเรื่องที่ใช้แนวคิดแบบเส้นเวลาแบบไม่เปลี่ยนรูป (immutable timeline); แนวเรื่องที่ใช้แนวคิดแบบเส้นเวลาแบบเปลี่ยนรูป (mutable timeline); และ แนวเรื่องที่ใช้แนวคิดแบบประวัติศาสตร์แบบมีทางเลือก (alternate histories), เช่นเดียวกับการมีปฏิสัมพันธ์แบบการตีความแบบพหุโลก (interacting-many-worlds interpretation) [48][49][50] ในนวนิยาย, เส้นเวลา (timeline) ใช้เพื่ออ้างอิงถึงเหตุการณ์ทางกายภาพทั้งหมดในประวัติศาสตร์, เพื่อที่ว่าเรื่องราวในการเดินทางข้ามเวลาที่เหตุการณ์สามารถที่จะถูกเปลี่ยนแปลงได้, นักเดินทางข้ามเวลาจะอธิบายได้ว่ามีการสร้างเส้นเวลาใหม่หรือเส้นเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลง [1] การใช้คำนี้แตกต่างจากการใช้คำว่าเส้นเวลาเพื่ออ้างถึงประเภทของแผนภูมิที่แสดงให้เห็นถึงชุดของเหตุการณ์โดยเฉพาะ, และแนวคิดนี้ก็แตกต่างจากคำว่าเส้นโลก, ซึ่งเป็นคำที่มาจากทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอน์สไตน์ซึ่งหมายถึงประวัติศาสตร์ทั้งหมดของวัตถุเอกเทศ

ใกล้เคียง

การเดินทางข้ามเวลา การเดินทางของคิโนะ การเดินละเมอฆาตกรรม การเดินป่าในเพชรพระอุมา การเดินทางของคุณแม่มด การเดินขบวน การเดินเรือ การเดินทางของกัลลิเวอร์ การเดินทาง (เพลงสุชาติ แซ่เห้ง) การเดินทัพทางไกล

แหล่งที่มา

WikiPedia: การเดินทางข้ามเวลา http://www.sfu.ca/~swartz/time_travel1.htm http://www.asimovs.com/_issue_0407/onthenet2.shtml http://www.chuedang.com/88 http://www.foxnews.com/scitech/2011/07/25/time-tra... http://www.friesian.com/paradox.htm http://books.google.com/books?id=iYzi8m8FbEsC&lpg=... http://books.google.com/books?id=jfPAwAnj9JUC&pg=R... http://www.jewishsearch.com/article_395.html http://www2.mampost.com/movie/inter/view/The-time-... http://www2.mampost.com/movie/inter/view/The-time-...