ความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง

DKBA-5 (ตั้งแต่ พ.ศ. 2553) มี่นอองไลง์
(ผู้บัญชาการกองทัพ)
ไว ลวิน
(รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม) ซอ ตำลาบอว์ (พ.ศ. 2543 - 2551)
โบ เมียะ (พ.ศ. 2519 - 2543)
ซอ บา อู จี  (พ.ศ. 2492 - 2493)
โบ นัต คาน มไวย์ (พ.ศ. 2537 - 2559) 43,000 (1951)[1] 1,500[3]ความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง (พ.ศ. 2492 – ปัจจุบัน) เป็นการขัดกันด้วยอาวุธในพม่า ซึ่งถือว่าเป็นสงครามกลางเมืองที่ยาวนานที่สุดในโลก[4][5] ขบวนการชาตินิยมกะเหรี่ยงได้ต่อสู้เพื่อสิทธิในการปกครองตนเองหรือเอกราชจากพม่า[6] ชาวกะเหรี่ยงได้ต่อสู้เพื่อให้รัฐกะเหรี่ยงเป็นเอกราชตั้งแต่ พ.ศ. 2492 ในชื่อภาษากะเหรี่ยงว่ากอทูเลย ในความขัดแย้งนานกว่าหกสิบปี มีผู้เข้ามาเกี่ยวข้องมากมาย โดยกลุ่มที่มีบทบาทมากที่สุดคือสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (ภาษาพม่า:ကရင် အမျိုးသား အစည်းအရုံး; ตัวย่อ KNU) ซึ่งเป็นองค์กรทางการเมืองและมีกองกำลังติดอาวุธคือกองทัพปลดปล่อยแห่งชาติกะเหรี่ยงที่ต่อสู้กับรัฐบาลทหารพม่ามายาวนาน

ความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง

สถานะ กระบวนการสันติภาพอยู่ระหว่างดำเนินการ
วันที่สถานที่สถานะ
วันที่พ.ศ. 2492–ปัจจุบัน
สถานที่รัฐกะเหรี่ยง ประเทศพม่า
สถานะกระบวนการสันติภาพอยู่ระหว่างดำเนินการ
สถานที่ รัฐกะเหรี่ยง ประเทศพม่า
วันที่ พ.ศ. 2492–ปัจจุบัน

ใกล้เคียง

ความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ ความขัดแย้งนิยมรัสเซียในประเทศยูเครน พ.ศ. 2557 ความขัดแย้งภายในพม่า ความขัดแย้งที่ซันริซูกะ ความขัดแย้งในรัฐกะชีน ความขัดแย้งในกัมพูชา พ.ศ. 2354 ความขัดแย้งนากอร์โน-คาราบัค ความขัดแย้งอิสราเอล–กาซา พ.ศ. 2557 ความขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง (พ.ศ. 2555–ปัจจุบัน)

แหล่งที่มา

WikiPedia: ความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง http://www.post-gazette.com/stories/news/world/mya... http://www.karennationalunion.net http://www.burmacentrum.nl/0502papersbriefing.html http://www.burmalibrary.org http://www.burmalibrary.org/docs13/BCES-BP-01-ceas... http://www.crisisgroup.org/en/regions/asia/south-e... http://www.karennews.org http://mmpeacemonitor.org/stakeholders/stakeholder... http://www.tni.org/work-area/burma-project http://www.nectec.or.th/thai-yunnan/19.html#3