ความจำ
ความจำ

ความจำ

ในจิตวิทยา ความจำ (อังกฤษ: memory) เป็นกระบวนการที่ข้อมูลต่าง ๆ รับการเข้ารหัส การเก็บไว้ และการค้นคืนเนื่องจากว่า ในระยะแรกนี้ ข้อมูลจากโลกภายนอกมากระทบกับประสาทสัมผัสต่าง ๆ (มีตาเป็นต้น) ในรูปแบบของสิ่งเร้าเชิงเคมีหรือเชิงกายภาพ จึงต้องมีการเปลี่ยนข้อมูลไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งก็คือการเข้ารหัส เพื่อที่จะบันทึกข้อมูลไว้ในความจำได้ระยะที่สองเป็นการเก็บข้อมูลนั้นไว้ในสภาวะที่สามารถจะรักษาไว้ได้เป็นระยะเวลาหนึ่งส่วนระยะสุดท้ายเป็นการค้นคืนข้อมูลที่ได้เก็บเอาไว้ซึ่งก็คือการสืบหาข้อมูลนั้นที่นำไปสู่การสำนึกรู้ให้สังเกตว่า การค้นคืนความจำบางอย่างไม่ต้องอาศัยความพยายามภายใต้อำนาจจิตใจจากมุมมองเกี่ยวกับกระบวนการประมวลข้อมูล มีระยะ 3 ระยะในการสร้างและค้นคืนความจำ คือการสูญเสียความจำเรียกว่าเป็นความหลงลืม หรือถ้าเป็นโรคทางการแพทย์ ก็จะเรียกว่า ภาวะเสียความจำ[1] (amnesia)

ใกล้เคียง

ความจำ ความจำชัดแจ้ง ความจำเชิงกระบวนวิธี ความจำอาศัยเหตุการณ์ ความจำโดยปริยาย ความจำสั้น แต่รักฉันยาว ความจำเสื่อม ความจำเพาะ ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดีย ความสำส่อน

แหล่งที่มา

WikiPedia: ความจำ http://journals2.scholarsportal.info.myaccess.libr... http://psychology.about.com/od/aindex/g/amygdala.h... http://www.britannica.com/EBchecked/topic/438701/p... http://www.britannica.com/EBchecked/topic/493353/r... http://www.britannica.com/EBchecked/topic/493614/r... http://abcnews.go.com/Health/Wellness/researchers-... http://www.newscientist.com/channel/being-human/mg... http://www.reuters.com/article/2007/03/12/us-memor... http://www.sinauer.com/bouton/glossary.html#Habitu... http://link.springer.com/article/10.3758%2FBF03198...