ความถี่มูลฐาน
ความถี่มูลฐาน

ความถี่มูลฐาน

ความถี่มูลฐาน[1](อังกฤษ: fundamental frequency)ซึ่งในภาษาอังกฤษอาจเรียกอย่างโดด ๆ ว่า "fundamental" นิยามว่าเป็นความถี่ต่ำสุดของรูปคลื่นแบบเป็นคาบในดนตรี ความถี่มูลฐานก็คือเสียงสูงต่ำของโน้ตดนตรีที่ได้ยินโดยเป็นคลื่นรูปไซน์ (partial) ที่ความถี่ต่ำสุดซึ่งได้ยินถ้าดูการซ้อนทับของคลื่นรูปไซน์ (เช่น อนุกรมฟูรีเย) ความถี่มูลฐานก็คือคลื่นรูปไซน์ความถี่ต่ำสุดในผลรวมในบางกรณี ความถี่มูลฐานจะเขียนเป็นเครื่องหมาย f0 (หรือ FF) ซึ่งระบุความถี่ต่ำสุดจาก 0[2][3] ในบางกรณี ก็จะเขียนเป็นเครื่องหมาย f1 ซึ่งหมายถึงฮาร์มอนิกแรก[4][5][6](ฮาร์มอนิกที่สองก็จะเป็น f2 = 2⋅f1 เป็นต้นและในบริบทนี้ ฮาร์มอนิกที่ 0 ก็จะเป็น 0 Hz)

ใกล้เคียง

ความถูกต้องทางการเมือง ความถี่แจ้งเหตุประสบภัยสากล ความถี่ ความถ่วงจำเพาะ ความถี่เชิงมุม ความถี่วิทยุ ความถี่มูลฐาน ความถี่เชิงพื้นที่ ความถี่เสียงเปียโน ความถนัดซ้าย

แหล่งที่มา

WikiPedia: ความถี่มูลฐาน http://www.colorado.edu/physics/phys1240/phys1240_... http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/waves/s... http://fourier.eng.hmc.edu/e101/lectures/Fundament... http://www.phon.ucl.ac.uk/home/johnm/sid/sidf.htm https://nchsdduncanapphysics.wikispaces.com/file/v... https://web.archive.org/web/20150924072648/http://... https://web.archive.org/web/20171107010647/http://... https://web.archive.org/web/20171107014312/http://... https://web.archive.org/web/20171107024929/https:/... https://web.archive.org/web/20171107114018/https:/...