ซูเปอร์สเปรดเดอร์
ซูเปอร์สเปรดเดอร์

ซูเปอร์สเปรดเดอร์

ซูเปอร์สเปรดเดอร์ คือ"สิ่งมีชีวิตที่เป็นโรคติดต่อได้"ที่ติดเชื้ออย่างผิดปกติ มนุษย์ที่ป่วยสามารถเป็นซูเปอร์สเปรดเดอร์ หรือผู้ที่ขับเชื้อและแพร่เชื้อได้มากเป็นพิเศษ พวกเขามีแนวโน้มที่จะแพร่เชื้อให้กับผู้อื่น มากกว่าคนที่ติดเชื้อทั่วไป ซูเปอร์สเปรดเดอร์ จึงเป็นประเด็นที่มีความกังวลสูงในวิทยาการระบาดกรณีที่มีการแพร่กระจายเชื้อมากเป็นพิเศษนั้นเป็นไปตามหลักการพาเรโต (Pareto principle หรือ กฎ 20/80)[1] โดยที่ประมาณ 20% ของผู้ติดเชื้อจะเป็นผู้ที่แพร่กระจายเชื้อ 80% ถึงแม้ว่าการแพร่กระจายเชื้อมากเป็นพิเศษนั้นกล่าวได้ว่า ก็สามารถเกิดขึ้นได้เมื่อการรายงานกรณีซูเปอร์สเปรดเดอร์ ซึ่งมีร้อยละของการแพร่กระจายที่สูงกว่าหรือต่ำกว่า[2] ในโรคระบาดที่มีการแพร่กระจายเชื้อมากเป็นพิเศษ ประชาชนส่วนใหญ่ที่ติดเชื้อมีความสัมพันธ์แบบการติดต่อรอง (Secondary contact) เพียงเล็กน้อยเหตุการณ์การแพร่กระจายเชื้อมากเป็นพิเศษถูกกำหนดโดยปัจจัยหลายประการ รวมถึงการลดลงของภูมิคุ้มกันหมู่ในประชากร, การติดเชื้อในโรงพยาบาล, ความรุนแรงของเชื้อ, ปริมาณไวรัส, การวินิจฉัยผิดพลาด, พลวัตไหลเวียนของอากาศ, ภาวะการกดภูมิคุ้มกัน และการติดเชื้อร่วมกับเชื้อโรคอื่น ๆ[3]

ใกล้เคียง

ซูเปอร์เซ็นไตซีรีส์ ซูเปอร์แมน ซูเปอร์จูเนียร์ ซูเปอร์ไบค์เวิลด์แชมเปี้ยนชิพ ซูเปอร์แดนเซอร์ออนไลน์ ซูเปอร์โบวล์ครั้งที่ 51 ซูเปอร์วิงส์ เหินฟ้าผู้พิทักษ์ ซูเปอร์โบวล์ครั้งที่ 50 ซูเปอร์สเปรดเดอร์ ซูเปอร์เซ็นไตแบทเทิล ไดซ์โอ

แหล่งที่มา

WikiPedia: ซูเปอร์สเปรดเดอร์ http://www.afpbb.com/articles/-/3030499 http://www.bbc.com/news/health-38955871 http://www.latimes.com/science/sciencenow/la-sci-s... http://adsabs.harvard.edu/abs/2005Natur.438..293G http://adsabs.harvard.edu/abs/2005Natur.438..355L http://www.ecdc.europa.eu/ //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1758225 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3322930 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10615314 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15030693