หน่วยวัด ของ ดาวฤกษ์

คุณลักษณะของดาวฤกษ์โดยมากจะระบุโดยใช้มาตราเอสไอ หรืออาจมีที่ใช้มาตราซีจีเอสบ้างจำนวนหนึ่ง (ตัวอย่างเช่น การระบุค่าความส่องสว่างเป็น เออร์กต่อวินาที) ค่าของมวล ความส่องสว่าง และรัศมี มักระบุในหน่วยของดวงอาทิตย์ โดยอ้างอิงจากคุณลักษณะของดวงอาทิตย์ ดังนี้

มวลดวงอาทิตย์: M ⊙ = 1.9891 × 10 30 {\displaystyle {\begin{smallmatrix}M_{\odot }=1.9891\times 10^{30}\end{smallmatrix}}}  กก.[45]
ความสว่างดวงอาทิตย์: L ⊙ = 3.827 × 10 26 {\displaystyle {\begin{smallmatrix}L_{\odot }=3.827\times 10^{26}\end{smallmatrix}}}  วัตต์[45]
รัศมีดวงอาทิตย์: R ⊙ = 6.960 × 10 8 {\displaystyle {\begin{smallmatrix}R_{\odot }=6.960\times 10^{8}\end{smallmatrix}}} ม.[46]

สำหรับหน่วยความยาวที่ยาวมาก ๆ เช่นรัศมีของดาวฤกษ์ยักษ์ หรือค่ากึ่งแกนเอกของระบบดาวคู่ มักระบุโดยใช้หน่วยดาราศาสตร์ (AU) ซึ่งมีค่าโดยประมาณเท่ากับระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ (ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 93 ล้านไมล์)

แหล่งที่มา

WikiPedia: ดาวฤกษ์ http://outreach.atnf.csiro.au/education/senior/ast... http://outreach.atnf.csiro.au/education/senior/ast... http://www.physics.uq.edu.au/people/ross/ph3080/wh... http://www.assa.org.au/sig/variables/classificatio... http://www.publicaffairs.ubc.ca/media/releases/200... http://www.astronomynotes.com/starprop/s5.htm http://www.astrophysicsspectator.com/topics/observ... http://www.astrophysicsspectator.com/topics/stars/... http://www.bangkokplanetarium.com/exhibition/zone4... http://archives.cnn.com/2000/TECH/space/06/02/stel...