เกี่ยวกับสุขภาพ ของ ถั่วปากอ้า

ถั่วปากอ้าดิบมีอัลคาลอยด์ชนิดวิซีนและโควิซีนที่สามารถกระตุ้นอาการเม็ดเลือดแดงแตกในผู้ป่วยที่มีภาวะพร่องเอนไซม์ glucose-6-phosphate dehydrogenase[3][4] บริเวณที่เป็นจุดกำเนิดของถั่วนี้เกี่ยวข้องกับพื้นที่ที่มีมาลาเรีย การศึกษาในหลอดทดลองพบว่าการแตกที่เกิดจากการกระตุ้นของถั่วปากอ้าเป็นการป้องกันมาลาเรีย เนื่องจากโปรโตซัวที่ก่อโรคมาลาเรีย เช่น Plasmodium falciparum จะไว่ต่อการแตกของเม็ดเลือดแดงที่เกิดจากการพร่องเอนไซม์ glucose-6-phosphate dehydrogenase[5] ถั่วปากอ้ามีอีโวโดปามากซึ่งเป็นสารที่ใช้รักษาโรคพาร์คินสัน[6] เปลือกหุ้มเมล็ดถั่วปากอ้ามีแทนนินที่เป็นโพลิเมอร์มาก[7]โดยเฉพาะชนิด proanthocyanidin[8]ที่สามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ได้ [9]

แหล่งที่มา

WikiPedia: ถั่วปากอ้า http://archive.southcoasttoday.com/daily/05-96/05-... http://www.hort.purdue.edu/newcrop/afcm/fababean.h... http://www.hort.purdue.edu/newcrop/duke_energy/Vic... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/9225606 http://ndb.nal.usda.gov/ndb/search/list http://ndb.nal.usda.gov/ndb/search/list?qlookup=16... http://www.scienzavegetariana.it/nutrizione/favabe... //doi.org/10.1055%2Fs-2006-957661 //dx.doi.org/10.1002%2Fjsfa.2740320808 //dx.doi.org/10.1002%2Fpca.731