สายการบิน ของ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

จุดหมายปลายทางจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีการเปลี่ยนแปลงตารางบินในฤดูการเปลี่ยนแปลงตารางบินทุก 6 เดือน ช่วงปลายเดือนตุลาคม และปลายเดือนมีนาคมซึ่งจะเป็นการเปลี่ยนแปลงใหญ่อาจมีการเปลี่ยนแปลงเวลาขึ้นลงของแต่ละสายการบินทั้งนี้เป็นไปตามข้อกำหนดของ IATA อย่างไรก็ตามท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นจุดหมายของสายการบินต่าง ๆ โดยในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2560 การบินไทยสมายล์ ได้ย้ายฐานการบินมาที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิทั้งหมด และในปี พ.ศ. 2562 ตลอดทั้งปี มีสายการบินทำการบินทั้งหมด 121 สายการบิน แบ่งเป็นขนส่งผู้โดยสาร 105 สายการบิน ขนส่งอากาศยาน 13 สายการบิน รวมเป็นสายการบินประจำ 118 สายการบินเช่าเหมาลำระหว่างประเทศ 2 สายการบิน สายการบินเช่าเหมาลำภายในประเทศ 1 สายการบิน นับว่าในแง่ของสายการบินมีจำนวนมากที่สุดนับตั้งแต่เปิดกิจการ เที่ยวบินล่าสุดคือ QW6111 ทำการบินใน วันที่ 1 ธันวาคม 2562​ จาก เจิ้งโจว และเที่ยวบิน SC2283 ทำการบินจาก เมืองเยียนไถ มณฑลชานตง แวะที่เมือง หลินอี้ มณฑลชานตง

ในอดีตท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเคยมีเที่ยวบินไปกลับระหว่างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิกับ เอเธนส์ มาดริด โจฮันเนสเบิร์ก ลอสแอนเจลิส นิวยอร์ก และเที่ยวบินจาก ลอสแอนเจลิส แวะพักที่ ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน ก่อนที่จะทำการบินเข้ามาที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทำการบินโดยการบินไทย

ในอดีตมีเที่ยวบินจาก ซานฟรานซิสโก แวะพักที่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ทำการบินโดย ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ ในเที่ยวบินที่ UA837 เที่ยวบินจาก ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ ชิคาโก แวะพักที่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ทำการบินโดย ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ ในเที่ยวบินที่ UA881

ในปี พ.ศ. 2561 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานที่รับผู้โดยสาร นักบิน และ พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน จาก 55 ประเทศทั่วโลก หากนับรวมประเทศไทยด้วย ท่าอากาศยานแห่งนี้รับผู้โดยสาร จาก 56 ประเทศทั่วโลก ซึ่งมากถึงร้อยละ 29 ของจำนวนประเทศทั่วโลก โดยประเทศซาอุดิอาระเบีย ทำการบินเฉพาะช่วงพิธีฮัจญ์ ไม่นับรวมแซ็ง-เดอนี (เรอูว์นียง) ฮ่องกงและมาเก๊า ซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษ มีจำนวนสายการบินที่ทำการบินทั้งเครื่องขนส่งสินค้าอย่างเดียวและเครื่องขนส่งผู้โดยสารและสินค้าซ้ำกัน 4 สายการบินได้แก่ ไชนาแอร์ไลน์ ออล นิปปอน แอร์เวย์ เอวาแอร์ ฮ่องกงแอร์ไลน์

จำนวนประเทศที่บินมากกว่า 3 เมืองขึ้นไป ได้แก่ ประเทศไต้หวัน ประเทศเวียดนาม ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศเยอรมัน ประเทศญี่ปุ่น ประเทศออสเตรเลีย ประเทศอินเดีย ประเทศรัสเซีย และ ประเทศไทย

ในปี พ.ศ. 2562 มีเครื่องขนส่งสินค้าเพียงอย่างเดียวหรือขนส่งอากาศยาน 13 สายการบิน โดยเที่ยวบินขนส่งสินค้าใน ไชน่าแอร์ไลน์ เอวาแอร์ ออล นิปปอน แอร์เวย์ ฮ่องกงแอร์ไลน์ ไม่ได้นับรวมในสายการบินขนส่งสินค้าเนื่องจากเป็นบริษัทเดียวกันกับที่ทำการบินในเที่ยวบินขนส่งผู้โดยสาร ยกเว้นสายการบิน สิงคโปร์แอร์ไลน์ กับ สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก แม้ใช้รหัส IATA เดียวกัน แต่ถือเป็นคนละสายการบิน ในเดือน มีนาคม พ.ศ. 2562 สายการบิน มาย เจ็ทเอกซ์เพรส แอร์ไลน์ ยกเลิกเที่ยวบิน N7220 จาก ปีนัง และ เดือน เมษายน พ.ศ. 2562 หยวนทง คาร์โกแอร์ไลน์ เลิกบิน เที่ยวบิน YG9017 จาก ซีอาน และ ฉางซา

ในปีเดียวกัน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิรับเครื่องบิน แบบ แอร์บัส เอ380 มากถึง 6 สายการบิน ได้แก่ การบินไทย เอเชียน่าแอร์ไลน์ [45]ลุฟท์ฮันซ่า เอมิเรตส์แอร์ไลน์ โคเรียนแอร์ และ กาตาร์แอร์เวย์

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิยังเป็นท่าอากาศยานที่มีเที่ยวบินภายในประเทศมากถึง 15 ท่าอากาศยาน จำนวนทั้งสิ้น 13 จังหวัด 14 อำเภอ ภายในประเทศไทย เที่ยวบินเชิงพาณิชย์ที่มีผู้โดยสารและสินค้าที่บินสั้นที่สุดในปัจจุบันได้แก่เที่ยวบินไปกลับ จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไปท่าอากาศยานตราด ระยะทาง 231 กิโลเมตร เที่ยวบิน ของสายการบินบางกอกแอร์เวย์ เที่ยวบินในเชิงพาณิชย์ที่บินไกลที่สุดในปัจจุบันได้แก่เที่ยวบินไปกลับระหว่าง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไปยัง ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ของสายการบินไทย อีวีเอแอร์ และ บริติชแอร์เวย์

เที่ยวบินที่ทำการบินใกล้ที่สุดแต่ไม่มีผู้โดยสารได้แก่เที่ยวบินของ การบินไทย การบินไทยสมายล์ และ บางกอกแอร์เวย์ บินจาก ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไป ท่าอากาศยานดอนเมือง ในเที่ยวบิน TG8422 WE8439 WE8432 PG3301 และ PG3605[46][47][48][49]

ในส่วนของสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ เครื่องบินขนาดเล็กที่สุดที่บินที่นี่ได้แก่ เอทีอาร์ 72 และขนาดใหญ่ที่สุดได้แก่ แอร์บัส เอ380 อย่างไรก็ตาม หากรวม เที่ยวบินไม่ประจำที่ทำการบินด้วยเครื่อง Cessna 208B Grand-Caravan เครื่องบินขนาดเล็กที่สุดที่บินที่นี่ได้แก่ เครื่อง Cessna 208B Grand-Caravan ทำการบินไป สนามบินเกาะไม้ซี้ ในเที่ยวบินที่ TFT207[50]

สายการบินใหม่

ในปี พ.ศ. 2562 มีสายการบินใหม่ 6 สายการบินที่ ทำการบินที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้แก่ แอร์บริจคาร์โก เที่ยวบินที่ RU9232[51] จากท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว มายังท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ก่อนไปยังท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง ในวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2562 ในเที่ยวบิน RU9133[52]

แคมโบเดียแอร์เวย์ เที่ยวบินที่ KR701 ทำการบินจาก พนมเปญ มา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2562

สายการบิน โกแอร์ ทำการบินจาก เดลี มาที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 เที่ยวบิน G8 037 ต่อมา ในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2562 สายการบินโกแอร์ทำการบินจาก มุมไบ มาที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เที่ยวบิน G8 025[53]

ในวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562 สายการบิน แอร์ วิสทาร่า เที่ยวบินที่ UK121 ทำการบิน จากท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี มายัง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ในวันที่ 1 ธันวาคม 2562 สายการบินชิงเต่าแอร์ไลน์ ทำการบินจากเมืองเจิ้งโจว ในเที่ยวบิน QW6111[54] และสายการบินซานตงแอร์ไลน์ ทำการบิน จากเมือง เยียนไถ มณฑลชานตง แวะที่เมือง หลินอี้ มณฑลชานตง ก่อนบินมายังท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในเที่ยวบิน SC2283[55]

เส้นทางการบินที่ให้บริการในปัจจุบัน

สายการบินจุดหมายปลายทาง
กัลฟ์แอร์บาห์เรน
กาตาร์แอร์เวย์โดฮา
การบินไทยกระบี่, กัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ, กว่างโจว, กาฐมาณฑุ, การาจี, โกลกาตา, คุนหมิง, โคเปนเฮเกน, โคลัมโบ–บันดาราไนเก, จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา, เจนไน, เฉิงตู, เชียงใหม่, ซัปโปโระ–ชิโตเซะ, ซิดนีย์, ซือริช, เซ็นได[56], เซี่ยงไฮ้–ผู่ตง, เซี่ยเหมิน, โซล–อินช็อน, ดูไบ–นานาชาติ, เด็นปาซาร์/บาหลี, เดลี, โตเกียว–นาริตะ, โตเกียว-ฮาเนดะ, ไทเป–เถา-ยฺเหวียน, ธากา, นาโงยะ–เซ็นแทรร์, บรัสเซลส์, บริสเบน, เบงคาลูรุ, ปารีส–ชาร์ล เดอ โกล, ปูซาน, ปักกิ่ง–นครหลวง, พนมเปญ, เพิร์ท, แฟรงก์เฟิร์ต, ฟุกุโอกะ, ภูเก็ต, มอสโก–โดโมเดโดโว, มะนิลา, มัสกัต, มิลาน–มัลเปนซา, มิวนิก, มุมไบ, ย่างกุ้ง, โรม–ฟีอูมีชีโน, ลอนดอน–ฮีทโธรว์, เวียงจันทน์, เวียนนา, สต็อกโฮล์ม–อาร์ลันดา, สิงคโปร์, ออสโล–การ์เดอร์มอน, ลาฮอร์, ออกแลนด์, อิสลามาบัด, โอซากะ–คันไซ, ฮ่องกง, ฮานอย, โฮจิมินห์, ไฮเดอราบาด
การบินลาวปากเซ, เวียงจันทน์, สุวรรณเขต, หลวงพระบาง
การูดาอินโดนีเซียจาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา
โกแอร์เดลี[57], มุมไบ[57]
ควอนตัสซิดนีย์
คาเธ่ย์แปซิฟิคสิงคโปร์, ฮ่องกง
คุนหมิงแอร์ไลน์คุนหมิง
คูเวตแอร์เวย์คูเวต
เคนยาแอร์เวย์กว่างโจว, ไนโรบี–โจโมเคนยัตตา
เคแอลเอ็มอัมสเตอร์ดัม
แคมโบเดียแอร์เวย์พนมเปญ
โคเรียนแอร์โซล–อินช็อน, ปูซาน
จินแอร์โซล–อินช็อน, ปูซาน
จุนเหยาแอร์ไลน์เซี่ยงไฮ้–ผู่ตง, เสิ่นหยาง
เจซีอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์พนมเปญ, พระสีหนุ, เสียมราฐ
เจ็ตสตาร์แปซิฟิกฮานอย, โฮจิมินห์
เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์สิงคโปร์
เจ็ตสตาร์แอร์เวย์เมลเบิร์น
เจ็ทเอเซีย แอร์เวย์จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา, โตเกียว–นาริตะ
เจแปนแอร์ไลน์โตเกียว–นาริตะ, โตเกียว–ฮาเนดะ, นาโงยะ–เซ็นแทรร์ (สิ้นสุด 28 มีนาคม 2563)[58], โอซากะ–คันไซ
ชานตงแอร์ไลน์คุนหมิง, จี่หนาน, ชิงเต่า, เซี่ยเหมิน, อุรุมชี
เชจูแอร์เชจู[59], โซล–อินช็อน, ปูซาน
ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์กว่างโจว, กุ้ยหยาง[60], กุ้ยหลิน, จางเจียเจี้ย, เจิ้งโจว, เจียหยาง, ฉางชา, ซานย่า, เซินเจิ้น, เซี่ยงไฮ้–ผู่ตง[61], เสิ่นหยาง, หนานหนิง, อุรุมชี[62], อู่ฮั่น
ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์กว่างโจว[63], คุนหมิง, เฉิงตู, เซี่ยงไฮ้–ผู่ตง, ไท่-ยฺเหวียน, ปักกิ่ง–นครหลวง, หนานจิง, หลานโจว, เหอเฝย์[64]
เช่าเหมาลำ: ซินโจว
ไชนาแอร์ไลน์ไทเป–เถา-ยฺเหวียน, เกาสฺยง
ซิปแอร์โตเกียวโตเกียว–นาริตะ (เริ่มต้น 14 พฤษภาคม 2563)[65]
เซบูแปซิฟิกเซบู, มะนิลา
เซินเจิ้นแอร์ไลน์กว่างโจว, เฉวียนโจว, ซีอาน, เซินเจิ้น, อู๋ซี
เซี่ยเหมินแอร์ซีอาน, เซี่ยเหมิน, ต้าเหลียน, ปักกิ่ง–นครหลวง, ฝูโจว
ดรุกแอร์คูวาหตี, คยา, โตเกียว–นาริตะ (เริ่มต้น 2 กันยายน 2563)[66], ธากา (เริ่มต้น 3 มกราคม 2563), พาโร, ภาคโฑครา, สิงคโปร์[67]
เตอร์กิชแอร์ไลน์อิสตันบูล
เติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์อาชกาบัต
ทีเวย์แอร์ไลน์โซล–อินช็อน, แทกู
ไทยเวียดเจ็ทแอร์กระบี่, เชียงราย, เชียงใหม่, ญาจาง, ดานัง[68], ด่าหลัต, ไถจง, ภูเก็ต, อุดรธานี[69], ไฮฟอง
เฉพาะฤดูกาล: เกิ่นเทอ
ไทยสมายล์กระบี่, กว่างโจว, กัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ, เกาสฺยง, โกลกาตา, ขอนแก่น, คยา, เจิ้งโจว, ฉงชิ่ง, ฉางชา, ชัยปุระ, เชียงราย, เชียงใหม่, นราธิวาส, ปีนัง, พนมเปญ, ภูเก็ต, มัณฑะเลย์, มุมไบ, ลัคเนา, พาราณสี, สุราษฎร์ธานี, เสียมราฐ, หลวงพระบาง, หาดใหญ่, อะห์มดาบาด[70], อุดรธานี, อุบลราชธานี, ฮ่องกง
ไทยอีสตาร์เจ็ตเกาสฺยง (เริ่มต้น 20 มกราคม 2563)[71]
นอร์วีเจียนแอร์ชัทเทิลโคเปนเฮเกน, สต็อกโฮล์ม–อาร์ลันดา (ทั้งหมดสิ้นสุด 27 มีนาคม 2563)[72]
เฉพาะฤดูกาล: ออสโล–การ์เดอร์มอน[72]
เนปาลแอร์ไลน์กาฐมาณฑุ
บริติชแอร์เวย์ลอนดอน–ฮีทโธรว์
บางกอกแอร์เวย์สกระบี่, เกาะสมุย, เชียงราย, เชียงใหม่, ญาจาง, ดานัง, ตราด, เนปยีดอ, พนมเปญ, พระสีหนุ (เริ่มต้น 10 มกราคม 2563)[73], ฟู้โกว๊ก, ภูเก็ต, มัณฑะเลย์, มาเล, มุมไบ, ย่างกุ้ง, ลำปาง, เวียงจันทน์, สุโขทัย, เสียมราฐ, หลวงพระบาง
พิมานบังคลาเทศแอร์ไลน์ธากา
ปากีสถานอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์กัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ, ลาฮอร์
พีชนาฮะ
ฟินน์แอร์เฮลซิงกิ
ฟิลิปปินแอร์ไลน์เซบู, มะนิลา
ภูฏานแอร์ไลน์โกลกาตา, พาโร
เฉพาะฤดูกาล: คยา
มัลดิเวียนมาเล
มาเลเซียแอร์ไลน์กัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ
มาฮานแอร์เตหะราน–อิหม่าม โคมัยนี
มีอัตมองโกเลียนแอร์ไลน์เฉพาะฤดูกาล: อูลานบาตาร์
เมียนมาร์เนชันแนลแอร์ไลน์มัณฑะเลย์, ย่างกุ้ง
เมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนลมัณฑะเลย์, ย่างกุ้ง
ยูเครนอินเตอร์เนชั่นแนลแอร์ไลน์เคียฟ–บอริสพิล (สิ้นสุด 20 มีนาคม 2563)[74]
ยูเอสบังคลาแอร์ไลน์ธากา, จิตตะกอง[75]
ยูโรวิงส์มิวนิก
รอยัลจอร์แดเนียนกัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ, อัมมาน–สมเด็จพระราชินีอาลียา, ฮ่องกง
รอยัลบรูไนแอร์ไลน์บันดาร์เซอรีเบอกาวัน
รอสซิยาแอร์ไลน์เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
ล็อตโปแลนด์แอร์ไลน์เช่าเหมาลำเฉพาะฤดูกาล: วอร์ซอ–ชอแป็ง
ลัคกี้แอร์คุนหมิง, เจิ้งโจว, เฉิงตู
ลุฟท์ฮันซ่าแฟรงก์เฟิร์ต
วิสตาราเดลี[76]
เวียดเจ็ทแอร์ฮานอย, โฮจิมินห์, ไฮฟอง
เวียดนามแอร์ไลน์ดานัง[77], ฮานอย, โฮจิมินห์
ศรีลังกันแอร์ไลน์โคลัมโบ–บันดาราไนเก
สปริงแอร์ไลน์กว่างโจว, เจียหยาง, ฉางชุน, ซีอาน, เซี่ยงไฮ้–ผู่ตง, เป๋ย์ไห่, ลั่วหยาง, สหฺวีโจว[78], เสิ่นหยาง, หนานชาง, หนิงปัว, หลานโจว, หยางโจว, เหอเฝย์, ฮาร์บิน, ฮูฮอต
สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ซือริช
สไปซ์เจ็ตโกลกาตา, เดลี, มุมไบ, อะห์มดาบาด
สิงคโปร์แอร์ไลน์สิงคโปร์
เสฉวนแอร์ไลน์เฉิงตู, ซานย่า, ซีอาน[79], หนานหนิง, หางโจว, ไหโข่ว, อู่อี๋ชาน[80]
หลันเหมยแอร์ไลน์พนมเปญ, เสียมราฐ
เหอเป่ย์แอร์ไลน์กุ้ยหยาง[81], ฉือเจียจวง, เหลียนยฺหวินกั่ง
ไห่หนานแอร์ไลน์ปักกิ่ง–นครหลวง, ไหโข่ว
ออลนิปปอนแอร์เวย์โตเกียว–นาริตะ, โตเกียว–ฮาเนดะ
ออสเตรียนแอร์ไลน์เวียนนา
อินดิโกโกลกาตา, เจนไน, เบงคาลูรุ, พาราณสี, มุมไบ[82]
อียิปต์แอร์ไคโร, ฮ่องกง
อีวีเอแอร์ไทเป–เถา-ยฺเหวียน, ลอนดอน–ฮีทโธรว์, เวียนนา, อัมสเตอร์ดัม
อีสตาร์เจ็ตโซล–อินช็อน, ปูซาน
อุซเบกิสถานแอร์เวย์ทาชเคนต์
อูราลแอร์ไลน์มอสโก–โดโมเดโดโว, เยคาเตรินบุร์ก, อีร์คุตสค์[83], อูฟา
เอชเคเอ็กซ์เพรสฮ่องกง[84]
เอเชียนาแอร์ไลน์โซล–อินช็อน
เอทิฮัดแอร์เวย์อาบูดาบี
เอธิโอเปียนแอร์ไลน์อาดดิสอาบาบา, ฮ่องกง
เอมิเรตส์ดูไบ–นานาชาติ, พนมเปญ, ฮ่องกง
เอสเซเว่นแอร์ไลน์ครัสโนยาสค์–นานาชาติ, โนโวซีบีสค์, มอสโก–โดโมเดโดโว, วลาดีวอสตอค, อีร์คุตสค์, อูลาน-อูเด, ฮาบาโรฟสค์
แอร์ไชนาเฉิงตู, เซี่ยงไฮ้–ผู่ตง, เทียนจิน, ปักกิ่ง–นครหลวง, ปักกิ่ง–ต้าซิง[85], เวินโจว, หางโจว
แอร์ฟรานซ์ปารีส–ชาร์ล เดอ โกล
แอร์มาเก๊ามาเก๊า
แอร์ออสทรัลแซ็ง-เดอนี
แอร์อัสตานานูร์-ซุลตัน, อัลมาเตอ
แอร์อินเดียโกลกาตา (สิ้นสุด 20 มกราคม 2563), เดลี, เบงคาลูรุ (สิ้นสุด 20 มกราคม 2563), มุมไบ
แอโรฟลอตมอสโก–เชเรเมเตียโว
แอล อัลเทลอาวีฟ
โอเคแอร์เวย์ซีอาน, เทียนจิน, หนานหนิง
โอมานแอร์มัสกัต
ฮ่องกงแอร์ไลน์ฮ่องกง

เที่ยวบินขนส่งสินค้า (คาร์โก)

Boeing 747-87UF ของสายการบินแอตลาสแอร์ไลน์Boeing 747-8R7F ของสายการบินคาร์โกลักซ์Boeing 747-8F ของสายการบินยูเอสพีแอร์ไลน์Boeing 747-412F ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โกBoeing 747-45EF ของสายการบินอีวีเอแอร์ Boeing 747-8KZF/SCD ของสายการบินนิปปงคาร์โกแอร์ไลน์ Boeing 747-40BF(ER) ของสายการบินไชนาคาร์โกแอร์ไลน์Boeing 747-8HV(F) ของสายการบินแอร์บริจคาร์โก

ต่อไปนี้เป็นเที่ยวบินขนส่งอากาศยานขนส่งสินค้าแต่เพียงอย่างเดียวไม่มีผู้โดยสาร และมีนักบิน 3-4 คน ต่อเที่ยวบินในปี 2562 สายการบินแอร์บริดคาร์โกทำการบินเพียงเที่ยวบินเดียว

สายการบินจุดหมายปลายทาง
คาร์โกลักซ์เซี่ยงไฮ้–ผู่ตง, เซี่ยเหมิน, บากู, ลักเซมเบิร์ก
คาร์ดิกแอร์จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา, สิงคโปร์, ฮ่องกง
คาเธ่ย์แปซิฟิคคาร์โกปีนัง, สิงคโปร์, ฮ่องกง
เค-ไมล์ แอร์จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา, พนมเปญ, สิงคโปร์, ฮ่องกง, ฮานอย, โฮจิมินห์
โคเรียนแอร์คาร์โกเจนไน, โซล–อินช็อน, สิงคโปร์
ไชนาคาร์โกแอร์ไลน์เซี่ยงไฮ้–ผู่ตง
ไชนาแอร์ไลน์คาร์โกเฉิงตู, ไทเป–เถา-ยฺเหวียน, ลักเซมเบิร์ก, อาบูดาบี
ซูพาร์นาแอร์ไลน์เซี่ยงไฮ้–ผู่ตง
ดีเอชแอลเอวิเอชั่นปีนัง, ไลพ์ซิช/ฮัลเลอ[86], ฮ่องกง
เตอร์กิชแอร์ไลน์คาร์โก[87]เดลี, ทาชเคนต์, ลาฮอร์, อัลมาเตอ, อิสตันบูล–อะตาตืร์ก, อิสลามาบัด
นิปปงคาร์โกแอร์ไลน์โตเกียว–นาริตะ, สิงคโปร์
เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรสกว่างโจว, ปีนัง
ยูเอสพีแอร์ไลน์โคโลญ/บ็อน, มุมไบ
ลุฟท์ฮันซ่าคาร์โกชาร์จาห์, แฟรงก์เฟิร์ต, มุมไบ
สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โกเซี่ยงไฮ้–ผู่ตง, สิงคโปร์
เอเอ็นเอคาร์โกโตเกียว–นาริตะ, ไทเป–เถา-ยฺเหวียน, สิงคโปร์, โอซากะ–คันไซ
แอร์บริจคาร์โกมอสโก , ฮ่องกง (เฉพาะ 5 มีนาคม 2562)
อีวีเอแอร์คาร์โก[88]จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา, ไทเป–เถา-ยฺเหวียน, ปีนัง, สิงคโปร์, ฮานอย[89]
เอเชียนาคาร์โกโซล–อินช็อน
เอ็มเอเอสคาร์โกกัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ, ฮ่องกง[90]

เที่ยวบินสำหรับฝึกนักบินพาณิชย์

ต่อไปนี้เป็นเที่ยวบินโดยสารที่บินโดยปราศจากผู้โดยสารมีแต่นักบินทำการบินและอาจมีสินค้าบนเครื่องบิน ทำการบินขาออกจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิอย่างเดียว

สายการบินจุดหมายปลายทาง
การบินไทยสมายล์ท่าอากาศยานดอนเมือง
การบินไทยท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)
บางกอกแอร์เวย์ท่าอากาศยานดอนเมือง

เที่ยวบินเช่าเหมาลำ

ปี พ.ศ. 2562 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิรับเที่ยวบินแบบเช่าเหมาลำทั้งหมด 4 สายการบิน ได้แก่มี สายการบิน เพกัส ฟลาย สายการบินเช่าเหมาลำได้ทำการบินจากเมืองครัสโนยาสค์ ในเที่ยวบิน EO2411[91] [92]21 เที่ยวบินทำเที่ยวบินจากเปียร์ม ในเที่ยวบิน EO 2447 [93]8 เที่ยวบิน โดยยกเลิกในวันที่ 5 เดือนเมษายน ทำเที่ยวบินจากเคเมโรโว ในเที่ยวบิน EO2617[94]12 เที่ยวบิน ทำการบินเที่ยวบินจาก บลาโกเวชเชนสค์ในเที่ยวบิน EO2703[95] 2 เที่ยวบินในเดือนพฤษภาคม ทำการบินจาก อีร์คุตสค์ 4 เที่ยวบิน[96]ในเที่ยวบิน EO2402[97]ทำการบินจาก วลาดีวอสตอค 1 เที่ยวบิน ในวันที่ 14 ตุลาคม ในเที่ยวบิน EO2419[98]

สายการบินล็อตโปแลนด์ lot polish airlines ได้ทำการบินแบบเช่าเหมาลำเที่ยวบินที่ LO6519 [99]จากเมืองวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ มายังท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำนวน 20 เที่ยวบินโดยทำการบิน ระหว่างเดือน มกราคม ถึง มีนาคม และ ระหว่าง เดือน พฤศจิกายน ถึง ธันวาคม[100]ต่อมาได้มีประกาศจาก สายการบินว่าทางสายการบินล็อตโปแลนด์ จะบิน อาทิตย์ละ 1 วัน รหว่าง 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ถึง 14 มีนาคม พ.ศ. 2563[101]

สายการบินจุดหมายปลายทาง
ล็อตโปแลนด์วอร์ซอ
เพกัส ฟลายครัสโนยาสค์ อีร์คุตสค์ เคเมโรโว วลาดีวอสตอค

เที่ยวบินเช่าเหมาลำภายในประเทศ

เนื่องจากบริการให้กับนักท่องเที่ยวของบริษัท โซเนวา คีรี จำกัด จึงเป็นเที่ยวบินไม่ประจำทำการบินด้วยเครื่องบินเล็กนั่งได้ 8 คน เที่ยวบิน TFT207

สายการบินจุดหมายปลายทาง
ไทย ฟลายอิ้ง เซอร์วิสสนามบินเกาะไม้ซี้

ใกล้เคียง

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา) ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล ท่าอากาศยานนานาชาตินครศรีธรรมราช ท่าอากาศยานนครราชสีมา

แหล่งที่มา

WikiPedia: ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ http://www.thenational.ae/article/20090125/BUSINES... http://www.aci.aero/aci/aci/file/Press%20Releases/... http://www.aci.aero/media/afc782a2-a258-4c49-a700-... http://www.aerologic.aero/network http://www.airport-technology.com/projects/bangkok... http://www.airportthai.com/uploads/profiles/000000... http://avherald.com/h?article=436cae28&opt=0 http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/639597#s... http://www.bbc.com/thai/international-43496807 http://www.checkairport.com/