ปีนักษัตร
ปีนักษัตร

ปีนักษัตร

ปีนักษัตร หรือ นักขัต เป็นปีตามปฏิทินสุริยคติไทยและชาติอื่นในเอเชียตะวันออก เช่น จีน เวียดนาม และญี่ปุ่น (เพิ่งรู้จักหมูเลี้ยงในศตวรรษที่ 19 ก่อนหน้านั้นญี่ปุ่นรู้จักแต่หมูป่า) แบ่งเป็นรอบปี รอบละสิบสองปี แต่ละปีกำหนดสัตว์เรียกเป็นชื่อเรียงกันไปดังนี้โดยความเชื่อเรื่องปีนักษัตรนั้นมีที่มาจากจีน ตำนานเรื่องเล่าในสมัยปีใหม่แรกของจีน(วันชิวอิก หรือวันที่ 1 เดือนอ้ายของจีน) สัตว์ทั้งหลายต่างมาชุมนุมหน้าวังหลวงของฮ่องเต้สวรรค์ ฮ่องเต้ประกาศให้สัตว์ 12 ชนิด ที่มาถึงก่อนวัน(วันชิวยี่ หรือวันที่ 2 เดือนอ้าย)  ดังนั้นสัตว์ 12 ชนิด ได้รับแต่งตั้งเป็นองค์รักษ์ใน 1 วัน สัตว์ 1 ชนิดอยู่ยาม 2 ชั่วโมงสัตว์ 12 ชนิดอยู่ยาม 24 ชั่วโมง รวมเป็น 12 ยามเฝ้าวังหลวงโดยมีหลักฐานทางโบราณคดีพบว่าตั้งแต่ก่อนยุคราชวงศ์ฉิน (221 ปีก่อนค.ศ. – 207 ปีก่อนค.ศ) ก็มีปรากฏรูปปีนักษัตรแล้ว โดยใช้สัตว์ประเภทต่าง ๆ เป็นตัวแทนหรือสัญลักษณ์ อันได้แก่[1]

ปีนักษัตร

พินอิน shēngxiào
- ยวีดปิง suk6-soeng1
- ฮกเกี้ยนแบบ POJ singsiàu
การถอดถ่ายตัวอักษรฮากกา- โรมันจีนกลาง- พินอินภาษาหมิ่น- ฮกเกี้ยนแบบ POJ- Min-dong BUCภาษาอู๋- โรมันกวางตุ้ง- ยวึดปิง
การถอดถ่ายตัวอักษร
ฮากกา
- โรมันsensiau
จีนกลาง
- พินอินshēngxiào
ภาษาหมิ่น
- ฮกเกี้ยนแบบ POJsingsiàu
- Min-dong BUCsăng-ngáu
ภาษาอู๋
- โรมันsen平-siau去
กวางตุ้ง
- ยวึดปิงsaang1-ciu3
- Hokkien POJ sio̍ksiùnn
- พินอิน shǔxiàng
- Min-dong BUC săng-ngáu
การถอดถ่ายตัวอักษรจีนกลาง- พินอินMin- Hokkien POJWu- โรมันกวางตุ้ง- ยวีดปิง
การถอดถ่ายตัวอักษร
จีนกลาง
- พินอินshǔxiàng
Min
- Hokkien POJsio̍ksiùnn
Wu
- โรมันzoh入-sian平
กวางตุ้ง
- ยวีดปิงsuk6-soeng1
- โรมัน zoh入-sian平
จีน 屬相
- ยวึดปิง saang1-ciu3