ภาษาม้ง

ภาษาม้งอยู่ในตระกูลแม้ว-เย้า หรือม้ง-เมี่ยน ใช้กันในชาวม้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ บางส่วนของจีนจัดเป็นภาษาคำโดด โดยหนึ่งคำมีเสียงพยัญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ ไม่มีเสียงตัวสะกด มีวรรณยุกต์สนธิหรือการผสมกันของเสียงวรรณยุกต์เมื่อนำคำมาเรียงต่อกันเป็นประโยค ในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ

ภาษาม้ง

ตระกูลภาษา
ม้ง-เมี่ยน
  • ภาษาม้ง
จำนวนผู้พูด มากกว่า 4 ล้านคน[1]  (ไม่พบวันที่)
ISO 639-3 มีหลากหลาย:
hmn — Hmong (generic)
mww — ภาษาม้งเด๊อว (Laos, China)
hmv — Hmong Do (Vietnam)
hmf — Hmong Don (Vietnam)
blu — ภาษาม้งจั๊ว (Laos, China)
hmz — Hmong Shua (Vietnam)
hmc — Hmong Central Huishui (China)
hmm — Hmong Central Mashan (China)
hmj — Hmong Chonganjiang (China)
hme — Hmong Eastern Huishui (China)
ISO 639-2 hmn
ประเทศที่มีการพูด จีน, เวียดนาม, ลาว, ไทย, และ สหรัฐ.

แหล่งที่มา

WikiPedia: ภาษาม้ง http://hmongstudies.org/LemoineHSJ6.pdf http://www.sil.org/iso639-3/documentation.asp?id=b... http://www.sil.org/iso639-3/documentation.asp?id=h... http://www.sil.org/iso639-3/documentation.asp?id=h... http://www.sil.org/iso639-3/documentation.asp?id=h... http://www.sil.org/iso639-3/documentation.asp?id=h... http://www.sil.org/iso639-3/documentation.asp?id=h... http://www.sil.org/iso639-3/documentation.asp?id=h... http://www.sil.org/iso639-3/documentation.asp?id=h... http://www.sil.org/iso639-3/documentation.asp?id=h...