ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน

ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน ในการแบ่งเขตภูมิอากาศ ภูมิอากาศลักษณะนี้ค่อนข้างพบได้น้อยบนโลก และได้รับการจัดแบ่งแทนด้วยตัวอักษร "Am" ในระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพินภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อนมีอุณหภูมิเฉลี่ยมากกว่า 18 องศาเซลเซียสในทุก ๆ เดือน และมีฤดูฝนและฤดูแล้งเหมือนภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เดือนที่แห้งแล้งที่สุดในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อนนั้นมีปริมาณหยาดน้ำฟ้าน้อยกว่า 60 มิลลิเมตร ภูมิอากาศแบบนี้นั้นดูเหมือนจะมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในแต่ละช่วงของปีน้อยกว่าภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา ภูมิอากาศลักษณะนี้มีฤดูที่แล้งที่สุดอยู้ในช่วงวันเหมายันหรือหลังจากนั้น[1]

ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน

แสดงข้อมูลเป็นมาตราอังกฤษ
แสดงข้อมูลเป็นมาตราอังกฤษ
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
 
 
2
 
75
59
 
 
2.1
 
76
60
 
 
2.4
 
79
64
 
 
2.9
 
82
68
 
 
6.2
 
85
72
 
 
9.3
 
88
75
 
 
5.7
 
89
76
 
 
7.6
 
89
77
 
 
7.6
 
88
76
 
 
5.6
 
85
72
 
 
2.7
 
80
67
 
 
1.8
 
77
62
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาฟาเรนไฮต์
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นนิ้ว

ใกล้เคียง

ภูมิอากาศไทย ภูมิอากาศ ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ภูมิอากาศจุลภาค ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา ภูมิอากาศแบบทะเลทรายเขตร้อน ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน ภูมิอากาศวิทยา