โครงสร้างการบริหารและการศึกษา ของ มหาวิทยาลัยมหิดล

ภูมิทัศน์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดสอนในระบบหน่วยกิต ปัจจุบันมีการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยทั้งสิ้น 629 สาขาวิชา ข้อมูลสิ้นสุดสภามหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งที่ 512 (9/2559) วันที่ 21 กันยายน 2559 [41] ครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ทั้งในหลักสูตรไทยและหลักสูตรนานาชาติ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่สามารถผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาเอกได้มากที่สุดในประเทศ[42] ในปี พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยรัฐที่มีปริมาณนักศึกษาต่างชาติมากที่สุด [43] และใน พ.ศ. 2549 และได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณประเภทธุรกิจบริการดีเด่นกลุ่มการศึกษานานาชาติจากนายกรัฐมนตรี (Prime Minister’s Export Award 2006) เพื่อประกาศเกียรติคุณมหาวิทยาลัยมหิดลในฐานะที่ได้รับความนิยมจากชาวต่างประเทศมากที่สุด (Most recognized service) ในพิธีประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัล เมื่อวันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2549ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล[44]

ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหิดล มีส่วนงานและกลุ่มภารกิจในสังกัด ประกอบด้วย สำนักงานสภามหาวิทยาลัย สำนักงานอธิการบดี 17 คณะ 10 สถาบัน 6 วิทยาลัย 3 วิทยาเขต และหน่วยงานต่างๆ[45] นอกจากนี้ยังมีสถาบันสมทบอีกหลายสถาบัน ซึ่งนักศึกษาของบางสถาบันเข้าร่วมการเรียนการสอนกับมหาวิทยาลัยมหิดล ในขณะที่บางสถาบันมีหลักสูตรเป็นเอกเทศ ประกอบด้วยหน่วยงาน ดังนี้

สำนักงานสภามหาวิทยาลัยมหิดล

สำนักงานอธิการบดี

  • กองแผนงาน
  • กองบริหารงานวิจัย
  • กองวิเทศสัมพันธ์
  • กองกฎหมาย
  • กองเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม
  • ศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง
  • ศูนย์ส่งเสริมจริยธรรมการวิจัยในคน
  • โครงการจัดตั้งศูนย์เสริมสร้างอุตสาหกรรมชีวภาพจากนวัตกรรม (PILOT PLANT)
  • โครงการจัดตั้งศูนย์เศรษฐกิจสร้างสรรค์

คณะ

วิทยาลัย

สถาบัน

ศูนย์

  • ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ

กลุ่มภารกิจ

  • ศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา
  • ศูนย์ความเป็นเลิศด้านคณิตศาสตร์
  • กลุ่มภารกิจสุขภาพโลกมหิดล
  • กลุ่มภารกิจการป้องกันและแก้ไขปัญหาแม่วัยรุ่น

  • ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมทางเคมี
  • ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์
  • กลุ่มภารกิจศูนย์ปฏิบัติการด้านชีววิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์

วิทยาเขต

สถาบันสมทบ

สถาบันสมทบและสถาบันร่วมผลิตในอดีต

ใกล้เคียง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

แหล่งที่มา

WikiPedia: มหาวิทยาลัยมหิดล http://asiatravel.com/thailand/salaya/index.html http://maps.google.com/maps?ll=13.793406,100.32251... http://www.leidenranking.com/ranking/2016/list http://www.multimap.com/map/browse.cgi?lat=13.7934... http://www.natureindex.com/annual-tables/2016/inst... http://www.natureindex.com/institution-outputs/tha... http://roundranking.com/world-map.html http://scimagoir.com/rankings.php?country=THA http://www.terraserver.com/imagery/image_gx.asp?cp... http://www.topuniversities.com/asia-rankings/metho...