การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น ของ รถไฟฟ้าบีทีเอส

จุดเชื่อมต่อ สถานีหมอชิต ไปยังสถานีสวนจตุจักร

รถไฟฟ้ามหานคร

จุดเชื่อมต่อระหว่างสถานีศาลาแดง-สถานีสีลม
รหัสสถานีสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสถานีรถไฟฟ้ามหานครหมายเหตุ
จุดเชื่อมต่อระหว่างสถานีที่เปิดให้บริการแล้ว [27]
สถานีห้าแยกลาดพร้าว สายเฉลิมรัชมงคล  : สถานีพหลโยธินเชื่อมต่อด้วยสะพานยกระดับจากตัวสถานีมาเชื่อมกับ
สะพานยกระดับข้ามถนนเดิมของสายสีน้ำเงิน ระยะทางประมาณ 300 เมตร
สถานีหมอชิต สายเฉลิมรัชมงคล  : สถานีสวนจตุจักรเชื่อมต่อโดยตรง
สถานีอโศก สายเฉลิมรัชมงคล  : สถานีสุขุมวิทเชื่อมต่อด้วยอาคารเชื่อม
สถานีศาลาแดง สายเฉลิมรัชมงคล  : สถานีสีลมเชื่อมต่อด้วยสะพานยกระดับจากตัวสถานีระยะทางประมาณ 150 เมตร
สถานีบางหว้า สายเฉลิมรัชมงคล  : สถานีบางหว้าเชื่อมต่อโดยตรง
จุดเชื่อมต่อระหว่างสถานีในอนาคต [28]
สถานีชิดลม สายสีส้ม  : สถานีประตูน้ำเชื่อมต่อด้วยทางเดินยกระดับราชประสงค์นอร์ทวอล์ก ระยะทางประมาณ 400 เมตร
สถานีสยาม
สถานีราชเทวี สายสีส้ม  : สถานีราชเทวีเชื่อมต่อโดยตรง

รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ทางเดินเชื่อมระหว่างสถานีพญาไทของรถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ผู้โดยสารสามารถเปลี่ยนไปใช้รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ ได้ที่สถานีพญาไท โดยการรถไฟแห่งประเทศไทยได้สร้างทางเชื่อมต่อโดยตรงจากสถานีพญาไทของโครงการแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ มายังสถานีพญาไทของรถไฟฟ้าบีทีเอส ซึ่งสถานีฝั่งรถไฟฟ้าบีทีเอสได้ติดตั้งประตูเครื่องตรวจตั๋วโดยสารอัตโนมัติเพิ่มเติมบริเวณกลางสถานี ทำให้พื้นที่ที่ผ่านเครื่องตรวจตั๋วโดยสารแล้ว (paid area) ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนในลักษณะเดียวกันกับสถานีสยาม เพื่อเพิ่มความสะดวกแก่ผู้ที่จะต่อรถเดินทางไปยังท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ [29]

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง

รหัสสถานีสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสถานีรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงหมายเหตุ
จุดเชื่อมต่อระหว่างสถานีในอนาคต [30]
สถานีพญาไท สายสีแดงอ่อน  : สถานีพญาไทเชื่อมต่อโดยตรง
สถานีเพลินจิต สายสีแดงอ่อน  : สถานีเพลินจิตเชื่อมต่อโดยตรง
สถานีวุฒากาศ สายสีแดงเข้ม  : สถานีวุฒากาศ เชื่อมต่อโดยตรง
สถานียศเส สายสีแดงเข้ม  : สถานียศเส เชื่อมต่อโดยตรง
สถานีตลิ่งชัน สายสีแดงอ่อน  : สถานีตลิ่งชันเชื่อมต่อโดยตรง

ระบบขนส่งมวลชนรอง

รถไฟฟ้าสายสีทอง สถานีกรุงธนบุรี
รหัสสถานีสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสถานีระบบขนส่งมวลชนรองหมายเหตุ
จุดเชื่อมต่อระหว่างสถานีในอนาคต [31]
สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ สายสีชมพู  : สถานีวัดพระศรีมหาธาตุเชื่อมต่อโดยตรง
สถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สายสีน้ำตาล  : สถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประตู 1 เชื่อมต่อโดยตรง
สถานีพหลโยธิน 24 สายสีเหลือง  : สถานีพหลโยธิน 24 เชื่อมต่อโดยตรง
สถานีทองหล่อ สายสีเทา  (ช่วงวัชรพล-ทองหล่อ) : สถานีทองหล่อ เชื่อมต่อโดยตรง
สถานีพระโขนง สายสีเทา  (ช่วงพระโขนง-ท่าพระ) : สถานีพระโขนง เชื่อมต่อโดยตรง
สถานีอุดมสุข สายสีฟ้าอ่อน  : สถานีบางนา เชื่อมต่อด้วยทางยกระดับซูเปอร์สกายวอล์กแยกบางนา
สถานีบางนา
สถานีสำโรง สายสีเหลือง  : สถานีสำโรง เชื่อมต่อโดยตรง
สถานีช่องนนทรี สายสีเทา  (ช่วงพระโขนง-ท่าพระ) : สถานีช่องนนทรี เชื่อมต่อโดยตรง
สถานีกรุงธนบุรี สายสีทอง  : สถานีกรุงธนบุรี เชื่อมต่อโดยตรง
สถานีตลาดพลู สายสีเทา  (ช่วงพระโขนง-ท่าพระ) : สถานีตลาดพลู เชื่อมต่อโดยตรง

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ (Bangkok BRT)

รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร–ราชพฤกษ์ ที่สถานีสาทร ซึ่งเชื่อมต่อกับสถานีช่องนนทรี(S3)

รถด่วนสายด่วนพิเศษ บีอาร์ที สายสาทร–ราชพฤกษ์ (402) มีจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าบีทีเอส 2 จุด ที่สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสช่องนนทรีโดยเชื่อมต่อกับสถานีสาทร ของรถโดยสารด่วนพิเศษ และ สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสตลาดพลู โดยเชื่อมต่อกับสถานีราชพฤกษ์ ของรถโดยสารด่วนพิเศษ [32] โดยสามารถใช้บัตรโดยสาร Rabbit เพื่อเดินทางต่อไปยังรถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ที สาย 402ได้ [33]

รหัสสถานีสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสถานีรถโดยสารด่วนพิเศษหมายเหตุ
จุดเชื่อมต่อระหว่างสถานีที่เปิดให้บริการแล้ว
สถานีช่องนนทรี BRT สายสาทร–ราชพฤกษ์  : สถานีสาทรผ่านทางสกายวอล์คแยกสาทร-นราธิวาสราชนครินทร์ ระยะทาง 300 เมตร
สถานีตลาดพลู BRT สายสาทร–ราชพฤกษ์  : สถานีราชพฤกษ์ ผ่านสกายวอล์ค ระยะทาง 300 เมตร

รถบริการรับส่ง

ปัจจุบันมีเอกชนร่วมให้บริการรถรับส่งจากสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสใกล้เคียงไปยังสถานที่ แต่ละฝ่ายให้บริการอยู่ โดยปัจจุบันมีดังนี้

เส้นทางสายสุขุมวิทเส้นทางสายสีลม

โดยบริการรถรับส่งดังกล่าวทั้งหมดไม่เสียค่าบริการ ยกเว้นเส้นทางหมอชิต–อิมแพ็ค เมืองทองธานี ที่เก็บค่าโดยสาร 30 บาทต่อเที่ยว เนื่องจากต้องใช้จ่ายเป็นค่าผ่านทางด่วน

บริเวณจุดเชื่อมต่อระหว่างสถานีสะพานตากสิน กับท่าเรือสาทร ที่สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสะพานตากสิน (S6)

ท่าเรือ


แผนที่แสดงการเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น

ใกล้เคียง

รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รถไฟฟ้า มาหานะเธอ

แหล่งที่มา

WikiPedia: รถไฟฟ้าบีทีเอส http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/805724 http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/810348 http://www.bangkokmasstransit.com/ http://bmta.bloggoo.com http://www.bmamasstransit.com/ http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=6... http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=50... http://www.hitachi-rail.com/products/signalling/at... http://www.kodmhai.com/m2/m2-3/m3-91-105.html http://www.ladynaka.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B...