รถไฟฟ้าบีทีเอส_สายสีลม
รถไฟฟ้าบีทีเอส_สายสีลม

รถไฟฟ้าบีทีเอส_สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรีของ กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2542 ระยะทาง 6.5 กิโลเมตร ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 ได้เปิดใช้งานส่วนต่อขยายช่วง สะพานตากสิน-วงเวียนใหญ่ นับเป็นเส้นทางรถไฟฟ้าข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาสายแรกของประเทศไทย และในปี พ.ศ. 2556 ได้เปิดใช้งานส่วนต่อขยายไปจนถึงบางหว้า สามารถเชื่อมต่อกับสายสุขุมวิทได้ที่สถานีสยาม

รถไฟฟ้าบีทีเอส_สายสีลม

ขบวนรถ ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร
(EMU-A1) : 35 ขบวน : หมายเลข 1-35
ซีเมนส์ อินสไปโร
(EMU-A2) : 22 ขบวน : หมายเลข 53-74
ซีเอ็นอาร์ ฉางชุน
(EMU-B1) : 12 ขบวน : หมายเลข 36-47
ซีเอ็นอาร์ ฉางชุน
(EMU-B2) : 5 ขบวน : หมายเลข 48-52
ซีอาร์อาร์ซี ฉางชุน
(EMU-B3) : 10 ขบวน : หมายเลข 75-84
รูปแบบ รถไฟฟ้ายกระดับ
แผนที่เส้นทาง
แผนที่เส้นทาง
สุขุมวิทห้าแยกลาดพร้าว
ศูนย์ซ่อมบำรุงหมอชิต
หมอชิต
เส้นทางของสายสุขุมวิท
ราชเทวี
สีแดงเข้ม หัวลำโพง – ยมราช
ยศเส
สนามกีฬาแห่งชาติ
สยาม
สุขุมวิท ราชเทวี – ชิดลม
ราชดำริ
สีลม สามย่าน – ลุมพินี
ศาลาแดง
ช่องนนทรี
บีอาร์ทีอาคารสงเคราะห์
ศึกษาวิทยา
สุรศักดิ์
สะพานตากสิน
แม่น้ำเจ้าพระยา
สีทอง ไอคอนสยาม – เจริญนคร 60
กรุงธนบุรี
วงเวียนใหญ่
โพธิ์นิมิตร
สีแดงเข้มวงเวียนใหญ่
บีอาร์ทีสะพานพระราม 3
ตลาดพลู
วุฒากาศ
สีแดงเข้มจอมทอง
สีน้ำเงิน เพชรเกษม 48 – บางไผ่
บางหว้า
ศูนย์ซ่อมบำรุงย่อยบางหว้า
บางแวก
กระโจมทอง
บางพรหม
อินทราวาส
บรมราชชนนี
สีแดงอ่อน บ้านฉิมพลี – บางบำหรุ
ธนบุรี-ศิริราชตลาดน้ำตลิ่งชัน
ตลิ่งชัน
จำนวนสถานี 13 (เปิดให้บริการ)
7 (โครงการ)
6 (ยกเลิก)
เจ้าของ สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร
ระบบ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร[1], รถไฟฟ้าบีทีเอส
สถานะ เปิดให้บริการ
เปิดเมื่อ
ที่ตั้ง กรุงเทพมหานคร
ชื่ออื่น
  • รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม
  • รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน
รางกว้าง 1.435 เมตร
ศูนย์ซ่อมบำรุง ศูนย์ซ่อมบำรุงหมอชิต
ศูนย์ซ่อมบำรุงย่อยบางหว้า
ศูนย์ซ่อมบำรุงตลิ่งชัน (ในอนาคต)
ปลายทาง ยศเส (โครงการ)
ตลิ่งชัน (โครงการ)
ผู้ดำเนินงาน บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
(กลุ่มบีทีเอส)
(สัญญาสัมปทานโครงการ หมด พ.ศ. 2603)

ใกล้เคียง

รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง รถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยา