รถไฟฟ้าบีทีเอส_สายสุขุมวิท
รถไฟฟ้าบีทีเอส_สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าบีทีเอส_สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2542 ระยะทาง 17 กิโลเมตร จากสถานีหมอชิต ถึงสถานีอ่อนนุชต่อมาในปี พ.ศ. 2554 ได้เปิดใช้งานส่วนต่อขยาย อ่อนนุช-แบริ่ง พ.ศ. 2560-2561 ได้เปิดใช้งานส่วนต่อขยายจากแบริ่งไปจนถึงเคหะสมุทรปราการ และปี พ.ศ. 2562 ได้เปิดใช้งานส่วนต่อขยายจากหมอชิตไปจนถึงวัดพระศรีมหาธาตุ สามารถเชื่อมต่อกับสายสีลม ที่สถานีสยาม

รถไฟฟ้าบีทีเอส_สายสุขุมวิท

ขบวนรถ ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร
(EMU-A1) : 35 ขบวน : หมายเลข 1-35
ซีเมนส์ อินสไปโร
(EMU-A2) : 22 ขบวน : หมายเลข 53-74
ซีเอ็นอาร์ ฉางชุน
(EMU-B1) : 12 ขบวน : หมายเลข 36-47
ซีเอ็นอาร์ ฉางชุน
(EMU-B2) : 5 ขบวน : หมายเลข 48-52
ซีอาร์อาร์ซี ฉางชุน
(EMU-B3) : 10 ขบวน : หมายเลข 75-84
รูปแบบ รถไฟฟ้ายกระดับ
ระบบจ่ายไฟ รางที่สาม
แผนที่เส้นทาง
แผนที่เส้นทาง
วงแหวน-ลำลูกกา
คลองห้า
คลองสี่
คลองสาม
คูคต
ศูนย์ซ่อมบำรุงย่อยสายไหม
แยก คปอ.
พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ
โรงพยาบาลภูมิพล
สะพานใหม่
สายหยุด
พหลโยธิน 59
วัดพระศรีมหาธาตุ
สีชมพู ราชภัฏฯ– รามอินทรา 3
กรมทหารราบที่ 11
บางบัว
กรมป่าไม้
สีน้ำตาล ประตู 2 – คลองบางบัว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เสนานิคม
รัชโยธิน
สีเหลืองจันทรเกษม
พหลโยธิน 24
สีน้ำเงินลาดพร้าว
ห้าแยกลาดพร้าว ( พหลโยธิน)
ศูนย์ซ่อมบำรุงหมอชิต
หมอชิต ( สวนจตุจักร)
สีน้ำเงิน กำแพงเพชร
สะพานควาย
เสนาร่วม
อารีย์
สนามเป้า
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
สีแดงอ่อน แยกราชวิถี – มักกะสัน
พญาไท
สุวรรณภูมิ บางซื่อ – ราชปรารภ
สีส้ม ยมราช – ประตูน้ำ
ราชเทวี
สยาม
สีลม: สนามกีฬาฯ – ราชดำริ
ชิดลม
เพลินจิต
นานา
สีน้ำเงิน ศูนย์สิริกิติ์ฯ – เพชรบุรี
อโศก
พร้อมพงษ์
สีเทาเหนือทองหล่อ 10
ทองหล่อ
เอกมัย
สีเทาใต้ บ้านกล้วยใต้
พระโขนง
อ่อนนุช
บางจาก
ปุณณวิถี
อุดมสุข
สีฟ้าอ่อน สรรพาวุธ – ประภามนตรี
บางนา
แบริ่ง
สีเหลืองทิพวัล
สำโรง
ปู่เจ้า
ช้างเอราวัณ
โรงเรียนนายเรือ
ปากน้ำ
ศรีนครินทร์
แพรกษา
สายลวด
เคหะฯ
ศูนย์ซ่อมบำรุงย่อยบางปิ้ง
สวางคนิวาส
เมืองโบราณ
ศรีจันทร์ฯ
บางปู
จำนวนสถานี 40 (เฉพาะที่เปิดให้บริการ)
เจ้าของ สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร
ระบบ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร[1], รถไฟฟ้าบีทีเอส
สถานะ
  • เปิดให้บริการ (วัดพระศรีมหาธาตุ - เคหะฯ)
  • ติดตั้งงานระบบ (วัดพระศรีมหาธาตุ - คูคต)
ความเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ส่วนต่อขยายล่าสุด 5 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (สถานีกรมป่าไม้ - สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ)
เปิดเมื่อ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542
ที่ตั้ง กรุงเทพมหานคร, สมุทรปราการ และปทุมธานี
ชื่ออื่น
  • รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท
  • รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม
รางกว้าง 1,435 มม. (4 ฟุต 8 1⁄2 นิ้ว) สแตนดาร์ดเกจ
ระยะทาง 43.65 กิโลเมตร (วัดพระศรีมหาธาตุ - เคหะฯ)
ศูนย์ซ่อมบำรุง ศูนย์ซ่อมบำรุงบางปู (สมุทรปราการ)
ศูนย์ซ่อมบำรุงหมอชิต
ศูนย์ซ่อมบำรุงสายไหม (คูคต) (ในอนาคต)
ปลายทาง วงแหวน-ลำลูกกา
บางปู
จำนวนทางวิ่ง 2
ผู้ดำเนินงาน บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
(กลุ่มบีทีเอส)
(สัญญาสัมปทานโครงการ หมด พ.ศ. 2603)

ใกล้เคียง

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม รถไฟฟ้ารางคู่ขนาดเบา สายบางนา–ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง