รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ_6_รอบพระชนมพรรษา

ขบวนรถ ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร
: 35 ขบวน
ซีเมนส์ อินสไปโร
: 22 ขบวน
ซีเอ็นอาร์ ฉางชุน
: 12 ขบวน
ซีเอ็นอาร์ ฉางชุน
: 5 ขบวน
ซีอาร์อาร์ซี ฉางชุน
: 24 ขบวน
รูปแบบ รถไฟฟ้ายกระดับ
ระบบจ่ายไฟ รางที่สาม 750VDC
อาณัติสัญญาณ บอมบาร์ดิเอร์ ซิตี้โฟล 450
จำนวนสถานี 48 (เฉพาะที่เปิดให้บริการ)
เจ้าของ สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร
ระบบ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร [1]
ผู้โดยสารต่อวัน 731,467 คน
ความเร็ว สูงสุด 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง
ส่วนต่อขยายล่าสุด 5 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (สถานีกรมป่าไม้ - สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ)
เปิดเมื่อ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542
เส้นทาง 2
ที่ตั้ง กรุงเทพมหานคร, สมุทรปราการ และปทุมธานี
รางกว้าง 1.435 เมตร
ระยะทาง 58.32 กิโลเมตร (36.24 ไมล์)
ศูนย์ซ่อมบำรุง ศูนย์ซ่อมบำรุงหมอชิต
ศูนย์ซ่อมบำรุงย่อยบางหว้า
ศูนย์ซ่อมบำรุงบางปิ้ง
ศูนย์ซ่อมบำรุงคูคต
ผู้ดำเนินงาน บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
(กลุ่มบีทีเอส)
(สัญญาสัมปทานโครงการ หมด พ.ศ. 2603)[2]

ใกล้เคียง

รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม