รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานคร

ประเภท ระบบขนส่งมวลชนเร็ว, โมโนเรล, รถไฟฟ้าชานเมือง และระบบขนส่งผู้โดยสารอัตโนมัติ
ความเร็วสูงสุด รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน: 80 กม./ชม.
รถไฟฟ้าชานเมือง: 120-160 กม./ชม.
จำนวนสถานี 137 (ปัจจุบัน)
308 (โครงการ)[ต้องการอ้างอิง]
เจ้าของ กรุงเทพมหานคร
การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
การรถไฟแห่งประเทศไทย
การจ่ายไฟฟ้า รางที่สาม และ จ่ายไฟเหนือหัว
ผู้โดยสารต่อวัน บีทีเอส: 900,000 คน
มหานคร: 470,000 คน
เชื่อมท่าอากาศยาน: 90,000 คน
รวมทั้งหมด: 1,460,000 คน[ต้องการอ้างอิง]
เริ่มดำเนินงาน 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 (21 ปี 261 วัน)
จำนวนราง 2
จำนวนสาย 8 สาย (ปัจจุบัน)
12 สาย (โครงการ)[ต้องการอ้างอิง]
ที่ตั้ง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
รางกว้าง รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน: 1.435 เมตร
รถไฟฟ้าชานเมือง: 1.000 เมตร
ระยะทาง 210.25 กม. (ปัจจุบัน)
565.54 กม. (โครงการ)[ต้องการอ้างอิง]
ผังเส้นทาง
ผังเส้นทาง

ผู้ดำเนินงาน ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ
กรุงเทพธนาคม
ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ
รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.
อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล
นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล
รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกเชื่อมสามสนามบิน

ใกล้เคียง

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยา