ภูมิหลัง ของ รัฐปาเลสไตน์

ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์ปาเลสไตน์

สมัยโรมัน

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

สมัยจักรวรรดิไบแซนไทน์

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

สมัยการปกครองของมุสลิม

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

สมัยสงครามครูเสด

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

สมัยมัมลุค

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

สมัยจักรวรรดิออตโตมัน

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

รัฐอารักขาของสหราชอาณาจักร

ดูบทความหลักที่: รัฐอารักขาปาเลสไตน์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

สงครามในปาเลสไตน์ 1947-1948

การแบ่งแยก 1948

แม่แบบ:Partition Plan-Armistice Lines comparison map legend

สงครามอาหรับ–อิสราเอล 1948

ในวันที่ 15 พฤษภาคม 1948 กองทัพซีเรีย ทรานส์จอร์แดน อิรัก เลบานอน และอียิปต์ ก็ข้ามพรมแดนปาเลสไตน์เข้าตะลุมบอนกับกองทัพอิสราเอล ซึ่งมีอายุได้เพียงวันเดียว ตามทางการแล้วสงครามกระทำกันในเวลา 8 เดือน คือ ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 1948 จนถึงวันที่ 7 มกราคม 1949 การหย่าศึกครั้งที่หนึ่ง วันที่ 11 มิถุนายน 1948 เมื่อสหประชาชาติ (เคานต์ โฟล์ก แบร์ นาดอตต์ ตัวแทน) ให้มีการหยุดยิงเป็นเวลา 1 เดือน ในระหว่างการหยุดยิงทั้งสองฝ่ายถูกห้ามมิให้นำอาวุธเข้ามา และฝ่ายไกล่เกลี่ยสหประชาชาตินำทหารเข้าไปเพื่อควบคุมฝ่ายที่เป็นศัตรูกัน ความจริงทั้งฝ่ายอาหรับและยิวใช้เวลาหยุดยิง 4 สัปดาห์ เตรียมจัดหน่วยและเสริมกำลังทั้งด้านกำลังพล ยุทธสัมภาระและวางกำลังใหม่ พอครบหนึ่งเดือน เริ่มขึ้นตอนเที่ยงคืนของวันที่ 11 กรกฎาคม กินเวลาเพียงสิบวันเท่านั้น การหยุดยิงครั้งที่สองเริ่มวันที่ 19 กรกฎาคม 1948 การหยุดยิงครั้งที่สองมิได้กำหนดเวลาไว้ คาดว่าจะนำไปสู่การหยุดยิงตลอดไป โดยคาดว่ากรณีพิพาทจะตกลงกันได้โดยวิถีทางการทูต จากความช่วยเหลือของผู้ไกล่เลี่ยสหประชาชาติ คือ เคาน์ โฟล์ก แบร์ นาดอตต์ อย่างไรก็ตาม ความเป็นศัตรูกันเริ่มขึ้นอีกในวันที่ 10 ตุลาคม 1948 นับว่าเป็นขั้นสุดท้ายของสงครามนำด้วยเหตุการณ์ที่น่าเศร้า เมื่อวันที่ 17 กันยายน 1948 เคาน์ โฟล์ก แบร์ นาดอตต์ ถูกผู้ก่อการร้ายฆ่าตาย

การสู้รบสิ้นสุดลงในวันที่ 7 มกราคม 1949 และในเดือนกุมภาพันธ์ อียิปต์ลงนามในข้อตกลงสงบศึกกับอิสราเอล, เดือนมีนาคม รัฐบาลอาหรับอื่น ๆ ทำตามอียิปต์ นอกจากรัฐบาลอิรัก และเลบานอน, เดือนเมษายน จอร์แดน และเดือนกรกฎาคม ซีเรีย อิรักเพียงแต่ถอนทหารออกจากปาเลสไตน์โดยไม่ลงนามในสัญญาหยุดยิง

หลังสงคราม

หลังสงครามอาหรับ-อิสราเอล ค.ศ. 1948 ได้มีข้อตกลงสงบศึกใน ค.ศ. 1949 กำหนดให้แบ่งดินแดนออกเป็น 3 ส่วน ให้กับอิสราเอล และชาติอาหรับในบริเวณนั้นอีก 2 ชาติ คือ อียิปต์และจอร์แดน

อิสราเอลได้เนื้อที่ไป 26% คือฝั่งตะวันตกของแม่น้ำจอร์แดน ส่วนจอร์แดนได้ไป 21% คือเวสต์แบงก์ โดยกรุงเยรูซาเลมถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนให้กับทั้งอิสราเอลและจอร์แดน ส่วนอียิปต์ได้บริเวณฉนวนกาซา เมื่อการแบ่งดินแดนกันเรียบร้อย ก็เกิดการอพยพของชาวยิวและชาวอาหรับเพื่อเข้าไปอาศัยอยู่ในเขตแดนของตน

สงครามหกวัน

ดูบทความหลักที่: สงครามหกวัน

หลังจากสงครามหกวัน ในปี ค.ศ. 1967 อิสราเอลได้ยึดดินแดนบางส่วนของอียิปต์และจอร์แดนได้

ใกล้เคียง

รัฐปาเลสไตน์ รัฐปะหัง รัฐปาเลสไตน์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 รัฐปาเลสไตน์ในเอเชียนเกมส์ 2022 รัฐปารา รัฐปารานา รัฐปาราอีบา รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 รัฐฉาน

แหล่งที่มา

WikiPedia: รัฐปาเลสไตน์ http://books.google.ca/books?id=ukWq9mMUeesC&pg=PA... http://books.google.com/?id=NYszJtC66FAC&pg=PA161&... http://www.israelnationalnews.com/News/News.aspx/1... http://articles.latimes.com/1993-09-10/news/mn-335... http://www.reuters.com/article/2012/11/29/us-pales... http://www.undemocracy.com/A-RES-52-250 http://www.undemocracy.com/generalassembly_55/meet... http://www.mfa.gov.il/MFA/Peace+Process/Guide+to+t... http://archive.is/20130217023733/au.news.yahoo.com... http://english.alarabiya.net/articles/2012/01/07/1...