สัญลักษณ์พื้นฐาน ของ รายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

สัญลักษณ์ชื่อคำอธิบายตัวอย่าง
คำอ่าน
หมวดหมู่
+ {\displaystyle +} บวก4+6

หมายความว่า

4 บวก/และ 6

2+7=9
บวก
เลขคณิต
Disjoint Union

(ยูเนี่ยนที่ไม่มีอินเตอร์เซคชัน)

A 1 + A 2 + A 3 {\displaystyle A_{1}+A_{2}+A_{3}}

ผลรวมของ

A 1 {\displaystyle A_{1}} และ A 2 {\displaystyle A_{2}} และ A 3 {\displaystyle A_{3}}

A 1 = { 3 , 4 , 5 , 6 } {\displaystyle A_{1}={\{3,4,5,6}\}} ∧ {\displaystyle \land } A 2 = { 7 , 8 , 9 , 0 } {\displaystyle A_{2}={\{7,8,9,0}\}}

A 1 + A 2 = { ( 3 , 1 ) , ( 4 , 1 ) , ( 5 , 1 ) , ( 6 , 1 ) , ( 7 , 2 ) , ( 8 , 2 ) , ( 9 , 2 ) , ( 10 , 2 ) } {\displaystyle A_{1}+A_{2}={\{(3,1),(4,1),(5,1),(6,1),(7,2),(8,2),(9,2),(10,2)}\}}

ผลรวมของ...และ...
เซต
− {\displaystyle -} ลบ 36 − 11 {\displaystyle 36-11}

หมายความว่า

เอา 11 {\displaystyle 11} ออกจาก 36 {\displaystyle 36}

36 − 11 = 25
หักออก, ลบ,

เอาออก

เลขคณิต
เครื่องหมายลบ-3

หมายความว่า

ตัวผกผันการบวก

ของ 3

-(-5)=5
ลบ...,

ตรงกันข้ามกับ

เลขคณิต
คอมพลี

เมนต์ของเซต

A-B

หมายความว่า

นับเฉพาะส่วนของ A

ที่ไม่อินเตอร์-

เซคชั่นกับ B

(หรือใช้ \ แทนคอมพลีเมนต์)

A={1,2,4}, B={1,3,4}

A-B={2}

ลบ, โดยที่ไม่มี
เซต
± {\displaystyle \pm } บวกลบ 6 ± 3 {\displaystyle 6\pm 3} หมายความว่า 6+3 และ 6-3ผลลัพธ์ของ x = 5 ± 4 {\displaystyle x=5\pm {\sqrt {4}}} มีอยู่สองคำตอบ คือ x = 7 {\displaystyle x=7} และ x = 3 {\displaystyle x=3}
บวกหรือลบ
เลขคณิต
บวกลบ10 ± 2 หรือเท่ากับ

10 ± 20% หมายความว่า

อยู่ในช่วงจำนวนตั้งแต่

10 − 2 ถึง 10 + 2

ถ้า a = 100 ± 1 mm แล้ว a ≥ 99 mm และ a ≤ 101 mm
บวกหรือลบ
การวัด
∓ {\displaystyle \mp } ลบบวก6 ± (3 ∓ 5) หมายความว่า 6 + (3 − 5) และ 6 − (3 + 5)cos(x ± y) = cos(x) cos(y) ∓ sin(x) sin(y)
ลบหรือบวก
เลขคณิต
× {\displaystyle \times }

∙ {\displaystyle \bullet }

⋅ {\displaystyle \cdot }

คูณ3 × 4 หรือ 3 ⋅ 4 หมายความว่า

นับ 3 ทั้งหมด 4 ครั้ง

7 ⋅ 8 = 56
...ครั้ง, คูณ
เลขคณิต
ผลคูณเชิงสเกลาร์

(ผลคูณจุด)

uv หมายความว่า ผลของเวกเตอร์ u และ v(1, 2, 5) ⋅ (3, 4, −1) = 6
จุด
พีชคณิตเชิงเส้น
ผลคูณไขว้u × v หมายความว่า ผลคูณไขว้ของ u และ v(1, 2, 5) × (3, 4, −1) = | i j k 1 2 5 3 4 − 1 | {\displaystyle {\begin{vmatrix}i&j&k\\1&2&5\\3&4&-1\end{vmatrix}}} = (−22, 16, −2)
คูณไขว้กับ
พีชคณิตเชิงเส้น
ตัวเชื่อมA · หมายถึงตัวยึดสำหรับอาร์กิวเมนต์ของฟังก์ชัน บ่งชี้ลักษณะการทำงานของนิพจน์โดยไม่กำหนดสัญลักษณ์เฉพาะสำหรับอาร์กิวเมนต์| · |
-
Functional Analysis
÷ {\displaystyle \div }

/ {\displaystyle /}

หาร6 ÷ 3 หรือ 6 ⁄ 3

หมายความว่า แบ่ง 6 เป็น 3 ครั้ง ครั้งละเท่าๆกัน

2 ÷ 4 = 0.5

12 ⁄ 4 = 3

หารด้วย, แบ่งด้วย,

ส่วนด้วย

เลขคณิต
โควเชี่ยนกรุปG / H หมายถึงผลหารของ G ได้ซับกรุป H{0, a, 2a, b, b + a, b + 2a} / {0, b} = {{0, b}, {a, b + a}, {2a, b + 2a}}
โมดูลา
ทฤษฎีกรุป
โควเชี่ยนเซตA/~ หมายความว่า

ชุดทั้งหมด (Equivalence class) ของ ~ A

ถ้ากำหนดให้

~ โดยที่ x ~ y ⇔ x − y ∈ ℤ, แล้ว ℝ/~ = {x + n : n ∈ ℤ, x ∈ [0,1)}

โมดูลา
เซต
√ {\displaystyle \surd } สแควร์รูท,

กรณฑ์

x {\displaystyle {\sqrt {x}}} หมายความว่า จำนวนบวกที่ถูกถอดรากคือ x 4 = 2 {\displaystyle {\sqrt {4}}=2}
รากที่...ของ...
จำนวนจริง
สแควร์รูท (จำนวนเชิงซ้อน)ถ้า z = r exp (iφ) แทนในพิกัดด้วย

−π < φ ≤ π แล้ว √z = √r exp (iφ/2).

− 1 = i {\displaystyle {\sqrt {-1}}=i}
รากที่...ของจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
∑ {\displaystyle \sum } ผลรวม ∑ k = 1 N a k {\displaystyle \sum _{k=1}^{N}a_{k}} หมายความว่า

a 1 + a 2 + ⋅ ⋅ ⋅ + a n {\displaystyle a_{1}+a_{2}+\cdot \cdot \cdot +a_{n}}

∑ k = 1 N k 2 = 1 2 + 2 2 + 3 2 + 4 2 = 1 + 4 + 9 + 16 = 30 {\displaystyle \sum _{k=1}^{N}k^{2}=1^{2}+2^{2}+3^{2}+4^{2}=1+4+9+16=30}
รวมทั้งหมด จาก...ถึง...
แคลคูลัส
∫ {\displaystyle \int } ปฏิยานุพันธ์ ∫ f ( x ) d x {\displaystyle \int f(x)dx}

หมายถึง

ฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์เป็น f {\displaystyle f}

∫ x 2 d x = {\displaystyle \int x^{2}dx=} x 3 3 + c {\displaystyle {\frac {x^{3}}{3}}+c}
ปฏิยานุพันธ์ของ...
แคลคูลัส
ปริพันธ์ ∫ a b f ( x ) d x {\displaystyle \int _{a}^{b}f(x)dx} หมายถึงพื้นที่เฉพาะระหว่างแกน x และกราฟของฟังก์ชัน f ระหว่าง x = a และ x = b ∫ a b x 2 d x = {\displaystyle \int _{a}^{b}x^{2}dx=} b 3 − a 3 3 {\displaystyle {\frac {b^{3}-a^{3}}{3}}}
ปริพันธ์ของ...จาก...
แคลคูลัส
การอินทริกัลตามเส้น ∫ C f d s {\displaystyle \int _{C}fds} หมายถึงอิน-ทริกัลของ f ตามเส้นโค้ง C, ∫b

∫ a b f ( r ( t ) ) | r ′ ( t ) | d t {\displaystyle \int _{a}^{b}f(r(t))|r'(t)|dt} ที่ๆ r คือ a พารามีทริเซชั่นของ C (ถ้าเป็นโค้งปิด อาจใช้ ∮ แทน)

อินทริกัลของ...ตาม..ส่วนของ,
แคลคูลัส
∮ {\displaystyle \oint } การอินทริเกรตเชิงซ้อนคล้ายอินทริกัลธรรมดา แต่ใช้กับรูปโค้งปิดหรือห่วง บางทีก็ใช้กับกฎของเกาส์ หรือจะแทนเรื่องอินทริกัลตามผิวและการตัดกันบนพื้นผิว ถ้าจะใช้ทั้งสองอย่าง จะมีสัญลักษณ์ ∯ โผล่มา และการอินทริกัลสามชั้นจะใช้ ∰

∮ C {\displaystyle \oint _{C}} ใช้เพื่อแสดงว่าเป็นเส้นโค้งปิดรอบจุด C

หรืออยู่บนจุด C

ถ้า C คือเส้นโค้งจอร์แดน เป็น 0 แล้ว ∮ C {\displaystyle \oint _{C}} 1 z d z = 2 π i {\displaystyle {\frac {1}{z}}dz=2\pi i}
เป็นอินทริเกรตเชิงซ้อนของ
แคลคูลัส
… {\displaystyle \ldots }

⋯ {\displaystyle \cdots }

⋮ {\displaystyle \vdots }

⋱ {\displaystyle \ddots }

จุดไข่ปลาใช้ละประโยค/สมการที่ยาวมากๆ, ต้องแสดงในพื้นที่จำกัด1 − 2 + 3 − 4 + · · ·
และ...
ใช้ในทุกหมวดหมู่
∴ {\displaystyle \therefore } ดังนั้นใช้ในการแสดงถึงผลของประโยคก่อนหน้าจำนวนคู่ลบคี่แล้วได้จำนวนคี่

0-1 = 1 ∴ {\displaystyle \therefore } 0 เป็นจำนวนคู่

ดังนั้น, ถ้า...แล้ว...
ใช้ในทุกหมวดหมู่
∵ {\displaystyle \because } เพราะใช้ในการให้เหตุผลของประโยคก่อนหน้า1 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ ∵ {\displaystyle \because } มีเพียง "1" เป็นตัวประกอบเดียวที่หารตัวมันเองลงตัว

∵ {\displaystyle \because } จำนวนเฉพาะมีตัวประกอบ 2 ตัว

เพราะ, เนื่องจาก
ใช้ในทุกหมวดหมู่
! {\displaystyle !} แฟคทอเรียลเมื่อแยก n ! {\displaystyle n!} จะได้ 1 × 2 × ⋯ × n {\displaystyle 1\times 2\times \cdots \times n} 4 ! = 1 × 2 × 3 × 4 = 24 {\displaystyle 4!=1\times 2\times 3\times 4=24}
แฟคทอเรียล
คณิตศาสตร์เชิงการจัด
นิเสธ!A แสดงว่า A เป็นเท็จ

(ที่ใช้ตัว ! บางทีเอาไว้แทนตัว ¬)

!(!A) ⇔ A

x ≠ y ⇔  !(x = y)

ไม่, ไม่จริงที่ว่า
ตรรกศาสตร์
¬ {\displaystyle \neg }

∼ {\displaystyle \thicksim }

นิเสธ ¬ A {\displaystyle \neg A} แสดงว่า A เป็นเท็จ

(นิยมใช้สัญลักษณ์ ~ และใช้ ¬ {\displaystyle \neg } รองลงมา ส่วน ! นักวิทยาการคอมพิวเตอร์

นิยมใช้เพื่อหลีกเลี่ยงสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์)

¬(¬A) ⇔ A

x ≠ y ⇔ ¬(x = y)

ไม่, ไม่จริงที่ว่า
ตรรกศาสตร์
∝ {\displaystyle \propto } คงที่ต่อy ∝ x แสดงว่า y = kx เมื่อ k มีค่าคงที่ถ้า y = 2x แล้ว y สมมูลกับ x
สมมูลกับ
ใช้ในทุกหมวดหมู่
∞ {\displaystyle \infty } อินฟินิตี้, อนันต์∞ รวมจำนวนที่อยู่และต่อจากเส้นจำนวน, ลิมิตของลำดับ lim x → 0 1 | x | = ∞ {\displaystyle \lim _{x\to 0}{\frac {1}{|x|}}=\infty }
เป็นอนันต์
จำนวน
◼ {\displaystyle \blacksquare }

◻ {\displaystyle \Box }

▸ {\displaystyle \blacktriangleright }

สิ้นสุดการพิสูจน์ใช้ในตอนท้ายของประโยคเพื่อแสดงว่าสิ้นสุดการพิสูจน์

หรือใช้ ซ.ต.พ. ก็ได้

จบการพิสูจน์, Q.E.D.
ใช้ในทุกหมวดหมู่

ใกล้เคียง

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย รายการเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รายการสุริยุปราคาที่มองเห็นได้จากประเทศไทย รายการธงประจำจังหวัดของไทย รายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 รายการอุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทย รายการประกวดความงาม รายการธงในประเทศไทย รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2