อื่นๆ(ที่เป็นสัญลักษณ์จากอักษร) ของ รายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

ตัวอักษรจากคำภาษาอังกฤษ

หรืออาจะเรียกว่า "เครื่องหมายเสริมสัทอักษร"

สัญลักษณ์ชื่อคำอธิบายตัวอย่าง
คำอ่าน
หมวดหมู่
a ¯ {\displaystyle {\bar {a}}} มัชฌิมเลขคณิต, ค่าเฉลี่ยเลขคณิต x ¯ {\displaystyle {\bar {x}}} (มักอ่านว่า x บาร์) คือค่าเฉลี่ยของ x (ค่ามาตรฐานของ xi) x = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 } ; x ¯ = 3 {\displaystyle x={\{1,2,3,4,5}\};{\bar {x}}=3}
เฉลี่ยได้...
สถิติ
ลำดับจำกัด, หลายสิ่งอันดับ a ¯ {\displaystyle {\bar {a}}} หมายถึง ลำดับจำกัด, หลายสิ่งอันดับ a (a1, a2, ..., an) a ¯ := ( a 1 , a 2 , . . . , a n ) {\displaystyle {\bar {a}}:=(a_{1},a_{2},...,a_{n})}
ลำดับจำกัด, หลายสิ่งอันดับ
ทฤษฎีโมเดล
การชิดกันเชิงพีชคณิต F ¯ {\displaystyle {\bar {F}}} หมายถึง การชิดกันเชิงพีชคณิตของฟีลด์ Fฟีลด์จำนวนเชิงพีชคณิต มักใช้ Q ¯ {\displaystyle {\bar {\mathbb {Q} }}} เพราะชิดกันเชิงพีชคณิตกับจำนวนตรรกยะ Q {\displaystyle \mathbb {Q} }
เป็นการชิดกันเชิงพีชคณิตของ
ทฤษฎีฟีลด์
สังยุค (จำนวนเชิงซ้อน) z ¯ {\displaystyle {\bar {z}}} หมายถึง สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน z

(ใช้ z* ก็ได้)

3 + 4 i ¯ = 3 − 4 i {\displaystyle {\overline {3+4i}}=3-4i}
สังยุค
จำนวนเชิงซ้อน
การชิดกันเชิงทอพอโลยี S ¯ {\displaystyle {\overline {S}}} หมายถึง การชิดกันเชิงทอพอโลยีของเซต S

หรือจะเขียนว่า cl(S) หรือ Cl(S)

ในปริภูมิจำนวนจริงนั้น จะเขียนได้ว่า Q ¯ = R {\displaystyle {\overline {\mathbb {Q} }}=\mathbb {R} } (จำนวนตรรกยะใช้ปริภูมิมากสุดในจำนวนจริง)
ชิดกัน(เชิงทอพอโลยี)กับ
ทอพอโลยี
a ⇀ {\displaystyle {\overset {\rightharpoonup }{a}}} เวกเตอร์
ตรงไปยัง
พีชคณิตเชิงเส้น
a ^ {\displaystyle {\hat {a}}} เวกเตอร์หนึ่งหน่วย a ^ {\displaystyle {\hat {a}}} (อ่านว่า "หมวก" ก็ได้)[5] เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยของ a มีความยาวเป็น 1
หมวก
เรขาคณิต
การกำหนดค่า θ ^ {\displaystyle {\hat {\theta }}} เป็นตัวกำหนดค่าพารามิเตอร์ของ θ {\displaystyle \theta } การกำหนดค่า μ ^ = ∑ i x i n {\displaystyle {\hat {\mu }}={\frac {\sum _{i}x_{i}}{n}}} กำหนดค่าอย่างง่าย (Sample Estimate) ได้ μ ^ ( x ) {\displaystyle {\hat {\mu }}(x)} ต่อ μ {\displaystyle \mu }
กำหนดค่า
สถิติ
′ {\displaystyle '} อนุพันธ์f'(x) หมายถึง อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ณ จุด x หรือ ความชันของแทนเจนต์ถึง f ณ x

(อาจใช้อัญประกาศเดี่ยวแทน มักพบในรหัสแอสกี)

ถ้า f(x) := x2 แล้ว f ′(x) = 2x
พาล์ม, อนุพันธ์ของ...
แคลคูลัส
˙ {\displaystyle {\dot {\,}}} อนุพันธ์ x ˙ {\displaystyle {\dot {x}}} หมายถึงอนุพันธ์ของ x ตามเวลา ซึ่ง x ˙ ( t ) = ∂ ∂ t x ( t ) {\displaystyle {\dot {x}}(t)={\partial \over \partial t}x(t)} ถ้า x(t) := t2 แล้ว x ˙ ( t ) = 2 t {\displaystyle {\dot {x}}(t)=2t}
จุด..., เป็นอนุพันธ์เวลาของ
แคลคูลัส

ตัวอักษรที่มาจากอักษรละติน

สัญลักษณ์ชื่อคำอธิบายตัวอย่าง
คำอ่าน
หมวดหมู่
∀ {\displaystyle \forall } ตัวบ่งปริมาณ (ทั้งหมด)∀x, P(x) P(x) จะเป็นจริง เมื่อ x ทุกตัวเป็นจริง∀x[x ∈ ℕ ; x2 ≥ x]
สำหรับ...ทั้งหมด,

ฟอร์ออล,

สำหรับ...ใดๆ,

สำหรับ...แต่ละตัว

ตรรกศาสตร์
B {\displaystyle \mathbb {B} }

B {\displaystyle \mathbf {B} }

โดเมนแบบบูล𝔹 หมายความได้ทั้ง {0, 1}, {เท็จ, จริง}, {F, T} หรือ { ⊥ , ⊤ } {\displaystyle {\{\bot ,\top }\}} (¬F) ∈ 𝔹
บี (B), (เซตของ)ค่าความจริง
เซต, พีชคณิตแบบบูล
C {\displaystyle \mathbb {C} }

C {\displaystyle \mathbf {C} }

จำนวนเชิงซ้อนℂ คือ {a + b i : a,b ∈ ℝ}i = √−1 ∈ ℂ
(เซตของ)จำนวนเชิงซ้อน
จำนวน
c {\displaystyle {\mathfrak {c}}} ภาวะเชิงการนับมีความต่อเนื่องภาวะเชิงการนับของ ℝ คือ |ℝ| หรือใช้ 𝔠 c = ℶ 1 {\displaystyle {\mathfrak {c}}=\beth _{1}}
ซี, ภาวะเชิงการนับของจำนวนจริง
เซต
∂ {\displaystyle \partial } อนุพันธ์ย่อย∂f/∂xi หมายถึง อนุพันธ์ย่อยของ f ต่อ xi เมื่อ f เป็นฟังก์ชันของ (x1, ..., xn)ถ้า f(x,y) := x2y แล้ว ∂f/∂x = 2xy
อนุพันธ์, ดี
แคลคูลัส
ขอบเขต∂M หมายถึง ขอบเขตของ M∂{x : ||x|| ≤ 2} = {x : ||x|| = 2}
ขอบเขตของ
ทอพอโลยี
ดีกรีของพหุนาม∂f เป็นดีกรีของพหุนาม f

หรือจะเขียนว่า deg f ก็ได้

∂(x2 − 1) = 2
ดีกรีของ
พีชคณิต
E {\displaystyle \mathbb {E} }

E {\displaystyle \mathbf {E} }

ค่าคาดหมายค่าคาดหมายของ ตัวแปรสุ่ม คือ ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (weighted average) ของทุกๆค่าที่เป็นไปได้ของตัวแปรสุ่ม โดยในการคำนวณการถ่วงน้ำหนักจะใช้ค่าฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น (probability density function) สำหรับตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง หรือใช้ค่าฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น (probability mass function) สำหรับตัวแปรวิยุต[6][7] E [ X ] = x 1 p 1 + x 2 p 2 + ⋯ + x k p k p 1 + p 2 ⋯ + p k {\displaystyle \mathbb {E} [X]={\frac {x_{1}p_{1}+x_{2}p_{2}+\cdots +x_{k}p_{k}}{p_{1}+p_{2}\cdots +p_{k}}}}
ค่าคาดหมาย
ความน่าจะเป็น
∃ {\displaystyle \exists } ตัวบ่งปริมาณ (บางตัว)∃x ; P(x) หมายความว่า หากมี x ตัวใดตัวหนึ่งเป็นจริง ประโยคเปิดนี้จะมีค่าความจริงเป็นจริง∃x[x ∈ ℕ ; x ∈ จำนวนคู่]
มี...บางตัว,

ฟอร์ซัม,

มี...อย่างน้อยหนึ่งตัว

ตรรกศาสตร์
∃ ! {\displaystyle \exists !} ตัวบ่งปริมาณ (หนึ่งตัว)∃!x ; P(x) หมายความว่า มี P(x) อยู่หนึ่งตัวที่เป็นจริง∃!x[x ∈ ℕ ; x + 5 = 2x]
มี...หนึ่งตัว
ตรรกศาสตร์
∈ {\displaystyle \in }

∉ {\displaystyle \not \in }

สมาชิกของเซตa ∈ S หมายความว่า a เป็นสมาชิกของเซต S[8]

a ∉ S หมายความว่า a ไม่เป็นสมาชิกของเซต S[8]

(1/2)−1 ∈ ℕ

2−1 ∉ ℕ

เป็นสมาชิกของเซต, ไม่เป็นสมาชิกของเซต
ใช้ในทุกหมวดหมู่ (โดยเฉพาะเซต)
∋ {\displaystyle \ni }

∌ {\displaystyle \not \ni }

สมาชิกของเซตS ∋ e = e ∈ S

S ∌ e = e ∉ S

เป็นสมาชิกของเซต, ไม่เป็นสมาชิกของเซต
เซต
เมื่อมักใช้อักษรย่อ s.t. (Such That) ใช้ | ก็ได้ ตัวอักษรนี้ ถูกเพิ่มเข้ามาในคณิตศาสตร์สมัยใหม่ ใช้สัญลักษณ์ ∋ (เอปไซลอนกลับด้าน) บางที ใช้เพื่อไม่ให้สับสนกับตัวบอกสมาชิกของเซตกำหนดให้ x ∋ 2|x และ 3|x ( | ในที่นี้แทนการหาร)
เมื่อ
คณิตตรรกศาสตร์
H {\displaystyle \mathbb {H} }

H {\displaystyle \mathbf {H} }

ควอเทอร์เนียน, แฮมิลทัน ควอเทอร์เนียนℍ หมายถึง {a + b i + c j + d k : a,b,c,d ∈ ℝ}
เอช, ควอร์เทอเนียน
จำนวน
I {\displaystyle \mathbb {I} }

I {\displaystyle \mathbf {I} }

จำนวนเต็ม I {\displaystyle \mathbb {I} } หมายถึงจำนวนเต็มใดๆ {..., −3, −2, −1, 0, 1, 2, 3, ...}

และ

I + {\displaystyle \mathbb {I^{+}} } หมายถึง จำนวนเต็มบวก {1, 2, 3, ...}

I − {\displaystyle \mathbb {I} ^{-}} หมายถึง จำนวนเต็มลบ {..., -3, -2, -1}

I = { p , − p : p ∈ N ∪ { 0 } } {\displaystyle \mathbb {I} ={\{p,-p:p\in \mathbb {N} \cup {\{0}\}}\}}
(เซตของ)จำนวนเต็ม
จำนวน
N {\displaystyle \mathbb {N} }

N {\displaystyle \mathbf {N} }

จำนวนนับ, จำนวนธรรมชาติℕ หมายความได้ทั้ง { 0, 1, 2, 3, ...} หรือ { 1, 2, 3, ...}

ทั้งสองเซตนั้น จะใช้อันไหน ขึ้นอยู่กับว่าอยู่เรื่องอะไร ที่นับตั้งแต่ 1 คือด้าน คณิตวิเคราห์, ทฤษฎีจำนวน, ทฤษฎีเซต และ วิทยาการคอมพิวเตอร์

ส่วนที่นับตั้งแต่ 0 มักใช้กับจำนวนนับ/เลขลำดับที่น้อยที่สุด (ω) ที่นับตั้งแต่ 0

ℕ = {|a| : a ∈ ℤ} หรือ ℕ = {|a| > 0: a ∈ ℤ}
(เซตของ)จำนวนนับ/จำนวนธรรมชาติ
จำนวน
∘ {\displaystyle \circ } ผลคูณอาดามาร์สำหรับเมทริกซ์สองตัว (หรือเวกเตอร์) ที่อยู่ในปริภูมิเดียวกัน A , B ∈ R m × n {\displaystyle A,B\in \mathbb {R} ^{m\times n}} ผลคูณอาดามาร์เป็นเมทริกซ์ที่อยู่ในปริภูมิเดียวกันคือ A ∘ B ∈ R m × n {\displaystyle A\circ B\in \mathbb {R} ^{m\times n}} เมื่อแจกแจงสมาชิกจะได้ ( A ∘ B ) i , j = ( A ) i , j ⋅ ( B ) i , j {\displaystyle (A\circ B)_{i,j}=(A)_{i,j}\cdot (B)_{i,j}} [ 1 2 2 4 ] ∘ [ 1 2 0 0 ] = [ 1 4 0 0 ] {\displaystyle {\begin{bmatrix}1&2\\2&4\end{bmatrix}}\circ {\begin{bmatrix}1&2\\0&0\end{bmatrix}}={\begin{bmatrix}1&4\\0&0\end{bmatrix}}}
ผลคูณอาดามาร์
พีชคณิตเชิงเส้น
ตัวประกอบของฟังก์ชันf ∘ g คือ (f ∘ g)(x) = f(g(x))[9]ถ้า f(x) := 2x และ g(x) := x + 3 แล้ว (f ∘ g)(x) = 2(x + 3)
ประกอบด้วย
เซต
O {\displaystyle O} สัญกรณ์โอใหญ่เป็นสัญกรณ์คณิตศาสตร์ที่ใช้บรรยายพฤติกรรมเชิงเส้นกำกับของฟังก์ชัน โดยระบุเป็นขนาด (magnitude) ของฟังก์ชันในพจน์ของฟังก์ชันอื่นที่โดยทั่วไปซับซ้อนน้อยกว่า[10]ถ้า f ( x ) = 6 x 4 − 2 x 3 {\displaystyle f(x)=6x^{4}-2x^{3}} และ g ( x ) = x 4 {\displaystyle g(x)=x^{4}} แล้ว f ( x ) = O ( g ( x ) ) as ⁡ x → ∞ {\displaystyle f(x)=O(g(x))\operatorname {as} x\rightarrow \infty }
โอใหญ่ของ
ทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ
∅ {\displaystyle \emptyset }

∅ {\displaystyle \varnothing }

{ } {\displaystyle {\{}\}}

เซตว่าง∅ หมายถึงเซตที่ไม่มีสมาชิกใดๆเลย{n ∈ ℕ : 1 < n2 < 4} = ∅
เซตว่าง
เซต
P {\displaystyle \mathbb {P} }

P {\displaystyle \mathbf {P} }

จำนวนเฉพาะℙ ใช้แทนจำนวนเฉพาะ 2 ∈ P , 3 ∈ P , 8 ∉ P {\displaystyle 2\in \mathbb {P} ,3\in \mathbb {P} ,8\notin \mathbb {P} }
(เซตของ)จำนวนเฉพาะ
เลขคณิต
ปริภูมิบรรจบℙ หมายถึงปริภูมิที่ซึ่งชี้ไปเป็นอนันต์ P 1 , P 2 {\displaystyle \mathbb {P} ^{1},\mathbb {P} ^{2}}
เส้นบรรจบ, ปริภูมิบรรจบ
ทอพอโลยี
ความน่าจะเป็นℙ(x) หมายถึง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ x ที่จะเกิดเหรียญสองด้าน (Fair Coin) ถูกโยนขึ้นไป ℙ(หัว) = ℙ(ก้อย) = 0.5
ความน่าจะเป็นของ
ความน่าจะเป็น
พาวเวอร์เซตให้ a เป็นสมาชิกของ S P(S) จะเป็นเซตของเซตย่อยทั้งหมดของ S รวมทั้งเซตว่าง และเซต S[11]เซต {0, 1, 2} มีสับเซต {0}, {1}, {2}, {0, 1}, {0, 2}, {1, 2},{0, 1, 2} ดังนั้น P({0, 1, 2}) = {∅, {0}, {1}, {2}, {0, 1}, {0, 2}, {1, 2}, {0, 1, 2}}
พาวเวอร์เซตของเซต...
เซตกำลัง
Q {\displaystyle \mathbb {Q} }

Q {\displaystyle \mathbf {Q} }

จำนวนตรรกยะℚ หมายความว่า {p/q : p ∈ ℤ, q ∈ ℕ}3.14000... ∈ ℚ

π ∉ ℚ

(เซตของ)จำนวนตรรกยะ
จำนวน
R {\displaystyle \mathbb {R} }

R {\displaystyle \mathbf {R} }

จำนวนจริงℝ คือเซตของจำนวนจริงπ ∈ ℝ

√(−1) ∉ ℝ

(เซตของ)จำนวนจริง
จำนวน
† {\displaystyle \dagger } ทรานสจูเกตA† หมายถึง เมทริกซ์สลับเปลี่ยนสังยุคของ A[12]

หรือจะเขียนว่า A∗T, AT∗, A∗, AT หรือ AT

( A † ) i . j = A j , i ¯ {\displaystyle (A^{\dagger })_{i.j}={\overline {A_{j,i}}}} [13]
เมทริกซ์สลับเปลี่ยนสังยุค
เมทริกซ์
T {\displaystyle {}^{\mathsf {T}}} เมทริกซ์สลับเปลี่ยนเป็นเมทริกซ์ที่ได้จากการสลับสมาชิก จากแถวเป็นหลัก และจากหลักเป็นแถว ของเมทริกซ์ต้นแบบ เมทริกซ์สลับเปลี่ยนของ A ที่มีมิติ m×n จะเขียนแทนด้วย AT (บางครั้งอาจพบในรูปแบบ At, Atr, tA หรือ A′) ซึ่งจะมีมิติเป็น n×m (สลับกัน)[14]ถ้า A = (aij) แล้ว AT = (aji)
ทรานสโพส[14]
เมทริกซ์
⊤ {\displaystyle \top } สมาชิกส่วนบน⊤ หมายถึงสมาชิกที่ใหญ่ที่สุดของ a∀x : x ∨ ⊤ = ⊤
สมาชิกส่วนบน
ทฤษฎีสลับ
ท็อปไทป์⊤ หมายถึงท็อปไทป์ หรือทุกๆไทป์ในระบบไทป์ของซับไทป์ a∀ไทป์, T <: ⊤
ท็อป, ท็อปไทป์
ทฤษฎีไทป์
⊥ {\displaystyle \bot } เส้นตั้งฉากx ⊥ y หมายถึง x ตั้งฉากกับ yถ้า l ⊥ m และ m ⊥ n บนระนาบเดียวกัน แล้ว l || n
...ตั้งฉากกับ...
เรขาคณิต
ด้านตรงข้ามมุมฉากW⊥ คือด้านตรงข้ามมุมฉากของ W (เมื่อ W เป็นซับสเปซของผลิตภัณฑ์ภายใน), เซตของทุกเวกเตอร์ใน V ที่ตรงข้ามกับ Wในรัศมี R 3 , ( R 2 ) ⊥ ≅ R {\displaystyle \mathbb {R} ^{3},(\mathbb {R} ^{2})^{\bot }\cong \mathbb {R} }
เป็นด้านตรงข้ามมุมฉากของ...
พีชคณิตเชิงเส้น
จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์x ⊥ y หมายความว่า ไม่มีตัวประกอบร่วมนอกจาก 1 และ -1 ของ y[15]34 ⊥ 55
...เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กับ...
ทฤษฎีจำนวน
ความเป็นอิสระA ⊥ B หมายความว่า เหตุการณ์ A และ B เรียกว่าเป็นอิสระต่อกันก็ต่อเมื่อการเกิดเหตุการณ์หนึ่งไม่ได้ทำให้ความน่าจะเป็นที่อีกเหตุการณ์หนึ่งจะเกิดขึ้นเปลี่ยนแปลงไป[16]

หรืออาจใช้ A ⊥ ⊥ B {\displaystyle A\perp \!\!\!\perp B} (เขียนแบบคำสั่ง LaTeX คือ "A \perp\!\!\!\perp B")

ถ้า A ⊥ B แล้ว P(A|B) = P(A)
...เป็นความเป็นอิสระของ...
ความน่าจะเป็น
สมาชิกส่วนล่าง⊥ หมายถึงสมาชิกที่น้อยที่สุดของ a∀x : x ∧ ⊥ = ⊥
สมาชิกส่วนล่าง
ทฤษฎีสลับ
บัทท็อมไทป์⊥ หมายถึงบัทท็อมไทป์ (หรือไทป์ว่าง) หรือทุกๆไทป์ในระบบไทป์ของซับไทป์ a∀ไทป์ T, ⊥ <: T
บัทท็อมไทป์
ทฤษฎีไทป์
เทียบกันได้x ⊥ y หมายความว่า x เทียบได้กับ y{e, π} ⊥ {1, 2, e, 3, π} ในตัวเซต
...เทียบได้กับ...
ทฤษฎีจัดลำดับ
U {\displaystyle \mathbb {U} }

U {\displaystyle \mathbf {U} }

เอกภพสัมพัทธ์𝕌 คือเซตของจำนวนทุกจำนวนที่เป็นขอบเขตที่กว้างที่สุดของเงื่อนไขนั้นๆ หรืออาจใช้แทน(เซตของ)จำนวนจริงกับ(เซตของ)จำนวนเชิงซ้อนผสมกัน𝕌 = {ℝ,ℂ}

เมื่อ 𝕌 = {ℤ,ℂ} แล้ว π ∉ 𝕌

เอกภพสัมพัทธ์, ยูนิเวิร์ส
เซต
∪ {\displaystyle \cup } ยูเนียนA ∪ B หมายถึง A หรือ B หรือพื้นที่(ปริภูมิ)ของทั้ง A และ B รวมกันA ⊆ B ⇔ (A ∪ B) = B
...ยูเนียน..., ...รวมกับ...
เซต
∩ {\displaystyle \cap } อินเตอร์เซคชันA ∩ B หมายถึงส่วนที่ A และ B มีเหมือนกัน{x ∈ ℝ : x2 = 1} ∩ ℕ = {1}
...อินเตอร์เซคชัน...
เซต
∨ {\displaystyle \lor } การเลือกเชิงตรรกศาสตร์, จุดร่วมของจุดสลับA และ B จะเป็นจริงถ้าตัวถูกดำเนินการบางตัว (หรือทั้งสองตัว) มีค่าเป็นจริง[17]

ส่วนฟังก์ชัน A(x) และ B(x) A(x) ∨ B(x) ใช้แทน max(A(x), B(x))

n ≥ 4 ∨ n ≤ 2 ⇔ n ≠ 3 เมื่อ n เป็นจำนวนนับ
หรือ, หรือไม่ก็, ต่อกับ
แคลคูลัสเชิงประพจน์, ทฤษฎีสลับ
∧ {\displaystyle \land } การเชื่อมเชิงตรรกศาสตร์, หรือจุดตัดของจุดสลับ
และ, น้อยที่สุด
แคลคูลัสเชิงประพจน์, ทฤษฎีสลับ
ผลคูณภายนอกu ∧ v คือผลคูณของมัลติเวกเตอร์ใดๆ ในปริภูมิที่สามของยุคลิด ผลคูณเวจคือผลคูณไขว้ของสองเวกเตอร์ของแต่ละฮอจฺ ดูอัล u ∧ v = ∗ ( u × v ) {\displaystyle u\land v=*(u\times v)} ถ้า u , v ∈ R 3 {\displaystyle u,v\in \mathbb {R} ^{3}}
ผณคูณเวจ, ผลคูณภายนอก
ทฤษฎีส่วนขยายเชิงเส้น
× {\displaystyle \times } คูณดูอธิบายที่คูณ (สัญลักษณ์พื้นฐาน)(ข้างบน)

ในภาษาโปรแกรมมักใช้ *

ครั้ง, คูณ
เลขคณิต
ผลคูณคาร์ทีเซียนA × B คือเซตของทุกคู่อันดับ (a, b) ที่ a ∈ A และ b ∈ B[18]7 × 8 = 56
ผลคูณคาร์ทีเซียนของ...และ...
เซต
ผลคูณไขว้ดูอธิบายที่คูณ (สัญลักษณ์พื้นฐาน)(ข้างบน)
คูณไขว้กับ
พีชคณิตเชิงเส้น
กรุปของยูนิตR× ประกอบด้วยเซตของยูนิตริง R ด้วยการดำเนินการแบบการคูณ

หรือจะเขียน R∗ หรือ U(R)

( Z / 5 Z ) × = { [ 1 ] , [ 2 ] , [ 3 ] , [ 4 ] } {\displaystyle (\mathbb {Z} /5\mathbb {Z} )^{\times }={\{[1],[2],[3],[4]}\}}

≅ C 4 {\displaystyle \cong C_{4}}

กรุปของยูนิตของ...
ทฤษฎีริง
⊗ {\displaystyle \otimes } ผลคูณเทนเซอร์, ผลคูณมอดูลเทนเซอร์V ⊗ U หมายถึงผลคูณเทนเซอร์ของ V และ U

V ⊗R U หมายถึงเทนเซอร์ของผลคูณมอดูลของ V และ U บนริง R

{1, 2, 3, 4} ⊗ {1, 1, 2} =

{{1, 1, 2}, {2, 2, 4}, {3, 3, 6}, {4, 4, 8}}

ผลคูณเทนเซอร์ของ...
พีชคณิตเชิงเส้น
⋉ {\displaystyle \ltimes }

⋊ {\displaystyle \rtimes }

ผลคูณเซมิไดเรกต์N ⋊φ H คือผลคูณเซมิไดเรกต์ของ N (กรุปย่อยปกติ) และ H (กรุปย่อย) ต่อ φ หรือถ้า G = N ⋊φ แล้ว G กระจายไปตาม N

(อาจเขียนได้อีกแบบ คือ ⋉ หรือ ×)

D 2 n ≅ C n ⋉ C 2 {\displaystyle D_{2n}\cong \mathrm {C} _{n}\ltimes \mathrm {C} _{2}}
ผลคูณเซมิไดเรกต์ของ
ทฤษฎีกรุป
เซมิจอย (Semi Join)R ⋉ S คือเซมิจอยของความสัมพันธ์ R และ S หรือ เซตของทุกทูเพิลใน R ที่มีทูเพิล S ซึ่งมีชื่อเหมือนกัน R ⋊ S = ∏ a 1 , . . , a n ( R ⋈ S ) {\displaystyle R\rtimes S=\textstyle \prod _{a_{1},..,a_{n}}(R{\displaystyle \bowtie }S)}
เซมิจอยของ...
พีชคณิตเชิงสัมพันธ์
⋈ {\displaystyle \bowtie } เนเชอรัลจอย (Natural Join)R ⋈ S คือเนเชอรัลจอยของความสัมพันธ์ R และ S หรือ เซตรวมของทุกทูเพิลใน R และ S ซึ่งมีชื่อเหมือนกัน
เนเชอรัลจอยของ...
พีชคณิตเชิงสัมพันธ์
Z {\displaystyle \mathbb {Z} }

Z {\displaystyle \mathbf {Z} }

จำนวนเต็มดูที่ I {\displaystyle \mathbb {I} } (ข้างบน)
(เซตของ)จำนวนเต็ม
จำนวน
Z n {\displaystyle \mathbb {Z} _{n}}

Z p {\displaystyle \mathbb {Z} _{p}}

Z n {\displaystyle \mathbf {Z} _{n}}

Z p {\displaystyle \mathbf {Z} _{p}}

จำนวนเต็มโมดุลาร์ nℤn คือ {[0], [1], [2], ...[n−1]} และคูณแบบโมดุโล n

(บางที การใช้ ℤn อาจสับสนได้ เพราะอาจะมีตัวอื่นมาใช้แทน เพื่อไม่ให้สับสนกับ จำนวนพี-เอดิก ใช้ ℤ/pℤ หรือ ℤ/(p) แทน)

ℤ3 = {[0], [1], [2]}
(เซตของ)จำนวนเต็มโมดุลาร์ n
จำนวน
จำนวนเต็มพี-เอดิก(อาจมีการใช้ตัวอักษรอื่นแทน เช่น n และ l)
(เซตของ)จำนวนเต็มพี-เอดิก
จำนวน

ตัวอักษรที่มาจากอักษรฮีบรูและอักษรกรีก

สัญลักษณ์ชื่อคำอธิบายตัวอย่าง
คำอ่าน
หมวดหมู่
ℵ {\displaystyle \aleph } จำนวนอะเลฟℵα แสดงถึงสมาชิกของเซตที่เป็นอนันต์ (เจาะจงกับ α-th เมื่อ α เป็นเลขลำดับที่)|ℕ| = ℵ0 เป็นเซตว่างอะเลฟ
อะเลฟ
เซต
ℶ {\displaystyle \beth } จำนวนเบธℶα คล้ายๆ ℵα แต่ ℶ ไม่จำเป็นต้องเป็นทุกจำนวนใน ℵ ℶ 1 = | P ( N ) | = 2 ℵ 0 {\displaystyle \beth _{1}=|P(\mathbb {N} )|=2^{\aleph _{0}}}
เบธ
เซต
δ {\displaystyle \delta } ดิแรกเดลตาฟังก์ชัน δ ( x ) = { ∞ , x = 0 0 , x ≠ 0 {\displaystyle \delta (x)={\begin{cases}\infty ,&x=0\\0,&x\neq 0\end{cases}}} δ(x)
ดิแรกเดลตาของ
ไฮเปอร์ฟังก์ชัน
โครเนกเกอร์เดลตา δ i j = { 1 , i = j 0 , i ≠ j {\displaystyle \delta _{ij}={\begin{cases}1,&i=j\\0,&i\neq j\end{cases}}} δij
โครเนกเกอร์เดลตาของ
ไฮเปอร์ฟังก์ชัน
ตราสารอนุพันธ์ของฟังก์ชัน ⟨ δ F [ φ ( x ) ] δ φ ( x ) , f ( x ) ⟩ = ∫ δ F [ φ ( x ) ] δ φ ( x ′ ) f ( x ′ ) d x ′ = lim ε → 0 F [ φ ( x ) + ε f ( x ) ] − F [ φ ( x ) ] ε = d d ϵ F [ φ + ϵ f ] | ϵ = 0 . {\displaystyle {\begin{aligned}\left\langle {\frac {\delta F[\varphi (x)]}{\delta \varphi (x)}},f(x)\right\rangle &=\int {\frac {\delta F[\varphi (x)]}{\delta \varphi (x')}}f(x')dx'\\&=\lim _{\varepsilon \to 0}{\frac {F[\varphi (x)+\varepsilon f(x)]-F[\varphi (x)]}{\varepsilon }}\\&=\left.{\frac {d}{d\epsilon }}F[\varphi +\epsilon f]\right|_{\epsilon =0}.\end{aligned}}} δ V ( r ) δ ρ ( r ′ ) = 1 4 π ϵ 0 | r − r ′ | {\displaystyle {\frac {\delta V(r)}{\delta \rho (r')}}={\frac {1}{4\pi \epsilon _{0}|r-r'|}}}
ตราสารอนุพันธ์ของฟังก์ชันของ
การดำเนินการค่าต่าง
△ {\displaystyle \vartriangle }

⊖ {\displaystyle \ominus }

⊕ {\displaystyle \oplus }

ความต่างแบบสมมาตรA ∆ B (หรือ A ⊖ B) คือเซตของ A และ B แบบเจาะจงในสมาชิก (ตัดตัวที่อินเตอร์เซคกันออก)

(อย่าสับสนกับเดลตา (Δ))

{1,5,6,8} ∆ {2,5,8} = {1,2,6}

{3,4,5,6} ⊖ {1,2,5,6} = {1,2,3,4}

ความต่างแบบสมมาตร
เซต
Δ {\displaystyle \Delta } เดลตาΔx คือผลต่างของ x

(แต่ถ้าเป็นค่าที่น้อยมากๆ ให้ใช้ δ หรือ d แทน และอย่าสับสนกับความต่างแบบสมมาตร (∆) ด้วย)

Δ y Δ x {\displaystyle {\tfrac {\Delta y}{\Delta x}}} เป็นค่าความชันของกราฟเส้นตรง
เดลตา, ผลต่าง
แคลคูลัส
ลาปาซการแปลงลาปลาสเป็นการแปลงลำดับที่สองของชุดความต่างในปริภูมิ n ของยุคลิดถ้า f เป็นอนุพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริง จากการแปลงลาปลาส จะได้ว่า Δ f = ∇ 2 f = ∇ ⋅ ∇ f {\displaystyle \Delta f=\nabla ^{2}f=\nabla \cdot \nabla f}
การแปลงลาปลาส
แคลคูลัสเวกเตอร์
∇ {\displaystyle \nabla } เกรเดียนต์∇f (x1, ..., xn) เป็นเวกเตอร์อนุพันธ์บางส่วนของ (∂f / ∂x1, ..., ∂f / ∂xn)ถ้า f (x,y,z) := 3xy + z² แล้ว ∇f = (3y, 3x, 2z)
เดล, นาบลา, เกรเดียนต์ของ
แคลคูลัสเวกเตอร์
ไดเวอร์เจนซ์ ∇ ⋅ v → = ∂ v x ∂ x + ∂ v y ∂ y + ∂ v z ∂ z {\displaystyle \nabla \cdot {\vec {v}}={\partial v_{x} \over \partial x}+{\partial v_{y} \over \partial y}+{\partial v_{z} \over \partial z}} ถ้า v → := 3 x y i + y 2 z j + 5 k {\displaystyle {\vec {v}}:=3xy\mathbf {i} +y^{2}z\mathbf {j} +5\mathbf {k} } แล้ว ∇ ⋅ v → = 3 y + 2 y z {\displaystyle {\displaystyle \nabla \cdot {\vec {v}}=3y+2yz}}
เดล ดอท, ไดเวอร์เจนซ์ของ
แคลคูลัสเวกเตอร์
เคิร์ล ∇ × v → = ( ∂ v z ∂ y − ∂ v y ∂ z ) i {\displaystyle \nabla \times {\vec {v}}=\left({\partial v_{z} \over \partial y}-{\partial v_{y} \over \partial z}\right)\mathbf {i} }

+ ( ∂ v x ∂ z − ∂ v z ∂ x ) j + ( ∂ v y ∂ x − ∂ v x ∂ y ) k {\displaystyle {\displaystyle +\left({\partial v_{x} \over \partial z}-{\partial v_{z} \over \partial x}\right)\mathbf {j} +\left({\partial v_{y} \over \partial x}-{\partial v_{x} \over \partial y}\right)\mathbf {k} }}

ถ้า v → := 3 x y i + y 2 z j + 5 k {\displaystyle {\displaystyle {\vec {v}}:=3xy\mathbf {i} +y^{2}z\mathbf {j} +5\mathbf {k} }} แล้ว ∇ × v → = − y 2 i − 3 x k {\displaystyle \nabla \times {\vec {v}}=-y^{2}\mathbf {i} -3x\mathbf {k} }
เคิร์ลของ...
แคลคูลัสเวกเตอร์
π {\displaystyle \pi } พายใช้แทนค่าคงตัวหลายๆอย่างที่เกี่ยวข้องกับวงกลม π เป็นค่าที่วงกลมจะคลี่ออกมาได้ตามพื้นราบ ประมาณ 4; 3.14159 ทั้งยังเป็นอัตราส่วนของเส้นรอบวงต่อเส้นผ่านศูนย์กลางA = πR2 = 314.16 → R = 10
พาย, 3.14..., 22/7, ≈355÷113
ค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์
โพรเจกชัน π a 1 , … , a n ( R ) {\displaystyle \pi _{a_{1},\ldots ,a_{n}}(R)} เป็นค่าจำกัด R ต่อ { a 1 , … , a n } {\displaystyle \{a_{1},\ldots ,a_{n}\}} เมื่อแจกแจงในเซตπอายุ,น้ำหนัก(คน)
โพรเจกชันของ
พีชคณิตเชิงสัมพันธ์
ฮอร์มอโทปีกรุป π n ( X ) {\displaystyle \pi _{n}(X)} เป็นค่าคงตัวในสมการฮอร์มอโทปีคลาสของจุดฐาน ซึ่งมิติ n มีค่าคงตัว (กับจุดฐาน) ตรงไปยังปริภูมิ X π i ( S 4 ) = π i ( S 7 ) ⊕ π i − 1 ( S 3 ) {\displaystyle \pi _{i}(S^{4})=\pi _{i}(S^{7})\oplus \pi _{i-1}(S^{3})}
ฮอร์มอโทปีกรุปที่...ของ
ทฤษฎีฮอร์มอโทปี
∏ {\displaystyle \prod } โพรดักส์ ∏ k = 1 n a k {\displaystyle \prod _{k=1}^{n}a_{k}} หมายความว่า a 1 a 2 … a n {\displaystyle a_{1}a_{2}\dots a_{n}} ∏ k = 1 4 ( k + 2 ) = ( 1 + 2 ) ( 2 + 2 ) ( 3 + 2 ) ( 4 + 2 ) = 3 × 4 × 5 × 6 = 360 {\displaystyle \prod _{k=1}^{4}(k+2)=(1+2)(2+2)(3+2)(4+2)=3\times 4\times 5\times 6=360}
โพรดักส์จาก...ไป...ของ
เลขคณิต
ผลคูณคาร์ทีเซียน ∏ i = 0 n Y i {\displaystyle \prod _{i=0}^{n}{Y_{i}}} ( Y 0 , . . . , Y n ) {\displaystyle (Y_{0},...,Y_{n})} คือเซตของทูเพิล n ทั้งหมด ∏ n = 1 3 R = R × R × R = R 3 {\displaystyle \prod _{n=1}^{3}{\mathbb {R} }=\mathbb {R} \times \mathbb {R} \times \mathbb {R} =\mathbb {R} ^{3}}
ผลคูณคาร์ทีเซียนของ
เซต
∐ {\displaystyle \coprod } โคโพรดักส์โครงสร้างของผลรวมย่อยของจุดเลื่อนยูเนียนของเซต, ปริภูมิเชิงทอพอโลยี, ฟรีโพรดักส์ของกรุป และผลรวมโดยตรงของโมดูลของปริภูมิเวกเตอร์

โคโพรดักส์ของชุดสมาชิกแต่ละตัว ที่สมาชิกแต่ละตัวอยู่ในสัณฐาน

โครโพรดักส์จาก...ไป...ของ
ทฤษฎีการจัด
σ {\displaystyle \sigma } การเลือกการเลือก σ a θ b ( R ) {\displaystyle \sigma _{a\theta b}(R)} โดยจะเลือกทุกคู่อันดับของ R ที่ θ {\displaystyle \theta } อยู่ระหว่าง a และ b เป็นการแจกแจง

การเลือก σ a θ v ( R ) {\displaystyle \sigma _{a\theta v}(R)} โดยจะเลือกทุกคู่อันดับของ R ที่ θ {\displaystyle \theta } อยู่ระหว่าง a เป็นตัวแจกแจงในค่าของ υ {\displaystyle \upsilon }

σอายุ≥34(คน)

σอายุ=น้ำหนัก(คน)

การเลือกของ
พีชคณิตเชิงสัมพันธ์
∑ {\displaystyle \sum } ผลรวมดูที่ ∑ {\displaystyle \sum } (ด้านบน)
รวมทั้งหมด จาก...ถึง...
เลขคณิต

ใกล้เคียง

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย รายการเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รายการสุริยุปราคาที่มองเห็นได้จากประเทศไทย รายการธงประจำจังหวัดของไทย รายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 รายการอุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทย รายการประกวดความงาม รายการธงในประเทศไทย รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2