รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย ของ รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย

      ประธานคณะกรรมการราษฎร      นายกรัฐมนตรีที่มาจากรัฐประหารโดยตรง      ผู้รักษาการแทนในกรณีตำแหน่งนายกรัฐมนตรีว่างลง      คณะรัฐประหาร
ลำดับ
(สมัย)
รูปรายนามคณะรัฐมนตรีไทย
คณะที่
เริ่มวาระ
(เริ่มต้นโดย)
สิ้นสุดวาระ
(สิ้นสุดโดย)
ที่มารัชสมัย
1
(1-3)
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)128 มิถุนายน พ.ศ. 2475
(มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว)
10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม)

รัชกาลที่ 7
210 ธันวาคม พ.ศ. 2475
(มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว)
1 เมษายน พ.ศ. 2476
(รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา)
31 เมษายน พ.ศ. 2476
(พระราชกฤษฎีกา)
21 มิถุนายน พ.ศ. 2476
(รัฐประหารและลาออก)
2
(1-5)
พระยาพหลพลพยุหเสนา
(พจน์ พหลโยธิน)
421 มิถุนายน พ.ศ. 2476
(มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว)
16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
(ลาออกและเลือกตั้งทั่วไป)
คณะราษฎร
516 ธันวาคม พ.ศ. 2476
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1)
22 กันยายน พ.ศ. 2477
(ลาออกเนื่องจากสภาไม่อนุมัติสนธิสัญญาจำกัดยางของรัฐบาล)
622 กันยายน พ.ศ. 2477
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1)
9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
(ลาออกเนื่องจากกรณีกระทู้เรื่องขายที่ดินพระคลังข้างที่)

รัชกาลที่ 8
79 สิงหาคม พ.ศ. 2480
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1)
21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
(สภาครบวาระและจัดเลือกตั้งทั่วไป)
821 ธันวาคม พ.ศ. 2480
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2)
16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและเลือกตั้งทั่วไป)[1]
3
(1-2)
แปลก พิบูลสงคราม916 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
7 มีนาคม พ.ศ. 2485
(ลาออกเนื่องจากต้องเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีให้เหมาะสม)
คณะราษฎร
107 มีนาคม พ.ศ. 2485
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
(ลาออกเนื่องจากส.ส.ไม่อนุมัติร่างพ.ร.บ.และพ.ร.ก.)
4
(1)
ควง อภัยวงศ์111 สิงหาคม พ.ศ. 2487
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
(ลาออกเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง)
คณะราษฎร
5ทวี บุณยเกตุ1231 สิงหาคม พ.ศ. 2488
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
17 กันยายน พ.ศ. 2488
(ลาออกเนื่องจากเปิดโอกาสให้ผู้ที่เหมาะสมมาแทน)
คณะราษฎร
6
(1)
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช1317 กันยายน พ.ศ. 2488
(เสนอชื่อโดยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์)
31 มกราคม พ.ศ. 2489
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและเลือกตั้งทั่วไป)
เสรีไทย
4
(2)
ควง อภัยวงศ์1431 มกราคม พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
24 มีนาคม พ.ศ. 2489
(ลาออกเนื่องจากแพ้มติสภาที่เสนอพ.ร.บ.ที่รัฐบาลรับไม่ได้)
คณะราษฎร
7
(1-3)
ปรีดี พนมยงค์1524 มีนาคม พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
7 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(ลาออกเนื่องจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489)
คณะราษฎร
-7 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(ลาออกเนื่องจากการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล)
1611 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
(ลาออกเนื่องจากถูกกล่าวหาจากกรณีเหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8)

รัชกาลที่ 9
8
(1-2)
ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์1723 สิงหาคม พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
(ลาออกเนื่องจากมีกระแสกดดันที่รุนแรง)
พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
1830 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
(รัฐประหาร)
คณะทหารแห่งชาติ
(หัวหน้าคณะ: ผิน ชุณหะวัณ)
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 24909 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
4
(3-4)
ควง อภัยวงศ์199 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
(มติคณะทหารแห่งชาติ)
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
(ลาออกเพื่อจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
พรรคประชาธิปัตย์
2021 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5)
8 เมษายน พ.ศ. 2491
(ลาออกเนื่องจากคณะรัฐประหารบังคับให้ลาออกภายใน 24 ชั่วโมง)
3
(3-8)
แปลก พิบูลสงคราม218 เมษายน พ.ศ. 2491
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5)
25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 และมีการเลือกตั้งทั่วไป)
พรรคธรรมาธิปัตย์[2]
2225 มิถุนายน พ.ศ. 2492
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6)
29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
(นำรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใช้อีกครั้ง)
2329 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
(มติคณะรัฐประหาร)
6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
(มีการแต่งตั้งสมาชิกประเภทที่ 2 ขึ้นใหม่)
คณะบริหารประเทศชั่วคราว
246 ธันวาคม พ.ศ. 2494
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6)
23 มีนาคม พ.ศ. 2495
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2495 และมีการเลือกตั้งทั่วไป)
พรรคธรรมาธิปัตย์[2]
2524 มีนาคม พ.ศ. 2495
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7)
21 มีนาคม พ.ศ. 2500
(สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
2621 มีนาคม พ.ศ. 2500
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8)
16 กันยายน พ.ศ. 2500
(รัฐประหาร)
พรรคเสรีมนังคศิลา
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: สฤษดิ์ ธนะรัชต์)
16 กันยายน พ.ศ. 250021 กันยายน พ.ศ. 2500
9พจน์ สารสิน2721 กันยายน พ.ศ. 2500
(ทูลเกล้าฯเสนอชื่อโดยผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร)
1 มกราคม พ.ศ. 2501
(ลาออกและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
10
(1)
ถนอม กิตติขจร281 มกราคม พ.ศ. 2501
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
(ลาออกและรัฐประหาร)
พรรคชาติสังคม
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: สฤษดิ์ ธนะรัชต์)
20 ตุลาคม พ.ศ. 25019 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
11สฤษดิ์ ธนะรัชต์299 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
(มติสภาร่างรัฐธรรมนูญ)
8 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(ถึงแก่อสัญกรรม)
คณะปฏิวัติ
10
(2-3)
ถนอม กิตติขจร309 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(มติสภาร่างรัฐธรรมนูญ)
7 มีนาคม พ.ศ. 2512
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
317 มีนาคม พ.ศ. 2512
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
(รัฐประหาร)

พรรคสหประชาไทย

คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: ถนอม กิตติขจร)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 251418 ธันวาคม พ.ศ. 2515
10
(4)
ถนอม กิตติขจร3218 ธันวาคม พ.ศ. 2515
(มติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(ลาออกเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา)
คณะปฏิวัติ
12สัญญา ธรรมศักดิ์3314 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(ทูลเกล้าฯเสนอชื่อโดยรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(ลาออกโดยให้เหตุผลว่าร่างรัฐธรรมนูญไม่เสร็จ)
3427 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(มติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
6
(2)
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช3515 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11)
14 มีนาคม พ.ศ. 2518
(ไม่ได้รับความไว้วางใจในการแถลงนโยบาย)
พรรคประชาธิปัตย์
13หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช3614 มีนาคม พ.ศ. 2518
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11)
20 เมษายน พ.ศ. 2519
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[3]
พรรคกิจสังคม
6
(3)
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช3720 เมษายน พ.ศ. 2519
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12)
25 กันยายน พ.ศ. 2519
(ลาออกเนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์ถนอม กิตติขจรกลับมาอุปสมบท)
พรรคประชาธิปัตย์
3825 กันยายน พ.ศ. 2519
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12)
6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(รัฐประหาร)
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
(หัวหน้าคณะ: สงัด ชลออยู่)
6 ตุลาคม พ.ศ. 25198 ตุลาคม พ.ศ. 2519
14ธานินทร์ กรัยวิเชียร398 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(มติคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
(รัฐประหาร)
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: สงัด ชลออยู่)
20 ตุลาคม พ.ศ. 252011 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
15
(1-2)
เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์4011 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
(มติคณะปฏิวัติ)
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
4112 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13)
3 มีนาคม พ.ศ. 2523
(ลาออกเนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์น้ำมันและผู้ลี้ภัย)
16
(1-3)
เปรม ติณสูลานนท์423 มีนาคม พ.ศ. 2523
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13)
30 เมษายน พ.ศ. 2526
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[4]
4330 เมษายน พ.ศ. 2526
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14)
5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[5]
445 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15)
4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[6]
17
(1-2)
ชาติชาย ชุณหะวัณ454 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16)
9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(ลาออก)
พรรคชาติไทย
469 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16)
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
(รัฐประหาร)
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.)
(หัวหน้าคณะ: สุนทร คงสมพงษ์)
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25342 มีนาคม พ.ศ. 2534
18
(1)
อานันท์ ปันยารชุน472 มีนาคม พ.ศ. 2534
(มติคณะ รสช.)
7 เมษายน พ.ศ. 2535
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
19สุจินดา คราประยูร487 เมษายน พ.ศ. 2535
(ทูลเกล้าฯเสนอชื่อโดยสุนทร คงสมพงษ์ ประธานสภารสช.[7][8] และมติพรรคร่วมรัฐบาล[9])
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(ลาออกเนื่องจากเกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ)
-มีชัย ฤชุพันธุ์24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง)
10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
(รองนายกรัฐมนตรี รักษาการในตำแหน่ง)
18
(2)
อานันท์ ปันยารชุน4910 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(ทูลเกล้าฯเสนอชื่อโดยอาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานสภาผู้แทนราษฎร)
23 กันยายน พ.ศ. 2535
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป) [10]
20
(1)
ชวน หลีกภัย5023 กันยายน พ.ศ. 2535
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18)
13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) [11]
พรรคประชาธิปัตย์
21บรรหาร ศิลปอาชา5113 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19)
25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) [12]
พรรคชาติไทย
22ชวลิต ยงใจยุทธ5225 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ)
พรรคความหวังใหม่
20
(2)
ชวน หลีกภัย539 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20)
9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) [13]
พรรคประชาธิปัตย์
23
(1-2)
ทักษิณ ชินวัตร549 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21)
11 มีนาคม พ.ศ. 2548
(สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
พรรคไทยรักไทย
5511 มีนาคม พ.ศ. 2548
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22)
19 กันยายน พ.ศ. 2549
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป และเกิดรัฐประหาร) [14]
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.)
(หัวหน้าคณะ: สนธิ บุญยรัตกลิน)
19 กันยายน พ.ศ. 25491 ตุลาคม พ.ศ. 2549
24สุรยุทธ์ จุลานนท์561 ตุลาคม พ.ศ. 2549
(มติคณะ คปค.)
29 มกราคม พ.ศ. 2551
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
25สมัคร สุนทรเวช5729 มกราคม พ.ศ. 2551
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23)
9 กันยายน พ.ศ. 2551
(ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง) [15]
พรรคพลังประชาชน
26สมชาย วงศ์สวัสดิ์9 กันยายน พ.ศ. 2551
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
18 กันยายน พ.ศ. 2551
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
พรรคพลังประชาชน
5818 กันยายน พ.ศ. 2551
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23)
2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี) [16]
-ชวรัตน์ ชาญวีรกูล2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
(รองนายกรัฐมนตรี รักษาการในตำแหน่ง)
27 อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ5917 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23)
5 สิงหาคม พ.ศ. 2554
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) [17]
พรรคประชาธิปัตย์
28ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร605 สิงหาคม พ.ศ. 2554
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24)
7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
(ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่งขณะรักษาการ หลังจากยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) [18]
พรรคเพื่อไทย
-นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
(รัฐประหาร)
พรรคเพื่อไทย
(รองนายกรัฐมนตรี รักษาการในตำแหน่ง)
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
(หัวหน้าคณะ: ประยุทธ์ จันทร์โอชา)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 255724 สิงหาคม พ.ศ. 2557
29
(1-2)
ประยุทธ์ จันทร์โอชา6124 สิงหาคม พ.ศ. 2557
(มติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
มิถุนายน พ.ศ. 2562
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป) [19]
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

รัชกาลที่ 10
629 มิถุนายน พ.ศ. 2562
(มติของรัฐสภา)
ปัจจุบันพรรคพลังประชารัฐ

หมายเหตุ

ใกล้เคียง

รายชื่อตอนในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน (แอนิเมชัน) รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ รายชื่อตัวละครในวันพีซ รายชื่อตอนในวันพีซ (อนิเมะ) รายชื่อสัตว์ รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร รายชื่อสมาชิกบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย รายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือ รายชื่อตัวละครในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน