วิกฤตการณ์มาลายา
วิกฤตการณ์มาลายา

วิกฤตการณ์มาลายา

 ออสเตรเลีย
 นิวซีแลนด์สนับสนุนโดย:
 ไทยสนับสนุนโดย:
 สหภาพโซเวียต
 จีน
เวียดมินห์ (−1954)
เวียดนามเหนือ(1954–))
 อินโดนีเซีย37,000 ตำรวจพิเศษ
24,000 ตำรวจสหพันธรัฐพลเรือนเสียชีวิต: 2,478 ราย, 810 สูญหายบทความนี้ใช้ระบบคริสต์ศักราช เพราะอ้างอิงคริสต์ศักราชและคริสต์ศตวรรษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่งวิกฤตการณ์มาลายา (อังกฤษ: Malayan Emergency) เป็นสงครามกองโจรต่อสู้กันระหว่างฝ่ายเครือจักรภพแห่งชาติและ กองทัพปลดปล่อยชนชาติมาลายาซึ่งเป็นกองกำลังของ พรรคคอมมิวนิสต์มลายา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948 ถึง 1960แม้ว่าฝ่ายคอมมิวนิสต์ จะพ่ายแพ้ในปี ค.ศ. 1960 แต่ผู้นำฝ่ายคอมมิวนิสต์ "ชิน เผง" ยังคงก่อการจลาจลในปี ค.ศ. 1967 และเรื่อยไปจน ค.ศ. 1989 จนเป็นที่รู้จักกันในชื่อ "สงครามจลาจลคอมมิวนิสต์" แม้ว่ากองกำลังของอังกฤษและออสเตรเลียได้ถอนกำลังออกจากมาเลเซียไปก่อนหน้านี้แล้วก็ตาม แต่การก่อจลาจลก็ยังล้มเหลว

วิกฤตการณ์มาลายา

วันที่สถานที่ผลลัพธ์
วันที่16 มิถุนายน ค.ศ. 1948 – 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1960
สถานที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผลลัพธ์
  • สหราชอาณาจักรและเครือจักรภพได้รับชัยชนะ
  • จีนเป็งลี้ภัยจากมลายู
  • สถานที่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    ผลลัพธ์
  • สหราชอาณาจักรและเครือจักรภพได้รับชัยชนะ
  • จีนเป็งลี้ภัยจากมลายู
  • วันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1948 – 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1960

    ใกล้เคียง

    วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2549 วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์ วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553 วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา วิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป วิกฤตรัฐธรรมนูญออสเตรเลีย ค.ศ. 1975 วิกฤตการณ์ตัวประกันโรงละครมอสโก