วิกฤตการณ์ฤดูใบไม้ร่วง

ฤดูใบไม้ร่วงเยอรมัน (อังกฤษ: German Autumn,เยอรมัน: Deutscher Herbst) เป็นกลุ่มของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงปลายปี พ.ศ. 2520 ที่เกี่ยวข้องกับการลักพาตัวและฆาตกรรม ฮันน์ มาร์ติน ชูเลียร์ (Hanns Martin Schleyer) ประธานสมาพันธ์เยอรมันสมาคมนายจ้าง (BDA) และสภาอุตสาหกรรมเยอรมัน (BDI) โดยกองทัพฝ่ายแดง (RAF) กลุ่มก่อความไม่สงบและแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ที่จี้ลุฟต์ฮันซา เที่ยวบินที่181 พวกเขาเรียกร้องให้ปล่อยตัวสมาชิกกองทัพฝ่ายแดง 10คน ที่อยู่ในการคุมขังที่เรือนจำ Stammheim สองเพื่อนร่วมชาติปาเลสไตน์ที่ถูกจับในตุรกีและ15 ล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อแลกกับตัวประกันการลอบสังหารซิกฟรีด บูบัค (Siegfried Buback), อัยการสูงสุดของเยอรมนีตะวันตกใน 7 เมษายน พ.ศ. 2520 และการลักพาตัวที่ผิดพลาดจนนำไปสู้การลอบสังหาร ที่นายธนาคาร Jürgen Ponto 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 เป็นจุดเริ่มต้นของฤดูใบไม้ร่วงเยอรมัน มันจบลงในวันที่ 18 ตุลาคมมีการช่วยเหลือตัวประกัน หัวหน้ากองทัพฝ่ายแดงรุ่นแรกฆ่าตัวตายในห้องขังของพวกเขาทั้งหมดและการตายของ ชูเลียร์ซึ่งวลี "ฤดูใบไม้ที่ร่วงเยอรมัน" มาจาก ภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2521 เรือง Deutschland im Herbst (เยอรมนีในฤดูใบไม้ร่วง) [1]

วิกฤตการณ์ฤดูใบไม้ร่วง

วันที่สถานที่ผลลัพธ์
วันที่ฤดูใบไม้ร่วง พ.ศ. 2520
สถานที่เยอรมนีตะวันตก
ผลลัพธ์
สถานที่ เยอรมนีตะวันตก
ผลลัพธ์
วันที่ ฤดูใบไม้ร่วง พ.ศ. 2520

ใกล้เคียง

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2549 วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์ วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553 วิกฤตรัฐธรรมนูญออสเตรเลีย ค.ศ. 1975 วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 วิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป วิกฤตการเงิน ค.ศ. 1907