สงครามกลางเมืองซีเรีย
สงครามกลางเมืองซีเรีย

สงครามกลางเมืองซีเรีย

ณ วันที่ 1 เมษายน 2561:
กลุ่มพันธมิตร อิหร่าน (ตั้งแต่ปี 2556)
ฮิซบุลลอฮ์ (ตั้งแต่ปี 2556)
 รัสเซีย (ตั้งแต่ปี 2558) ตุรกี[b] (ตั้งแต่ปี 2559)
อะห์รัรอัชชาม[e] ตะห์รีรุชชาม[d][e] ซีเจทีเอฟ–โอไออาร์
(ตั้งแต่ปี 2557)
สหรัฐ
 ฝรั่งเศส[8]
 สหราชอาณาจักร
 เบลเยียม
 เนเธอร์แลนด์
 ออสเตรเลีย
 จอร์แดน
 เยอรมนีSyrian Armed Forces: 180,000[48]
General Security Directorate: 8,000[49]
National Defense Force: 80,000[50]
Ba'ath Brigades: 7,000 Hezbollah: 6,000–8,000[51]
Liwa Al-Quds: 4,000-8,000รัสเซีย: 4,000 troops[52] and 1,000 contractors[53]
อิหร่าน: 3,000–5,000[51][54]
FSA: 40,000–50,000[55] (2013)
Islamic Front: 40,000–70,000[56] (2014)
Other groups: 12,500[57] (2015)
Turkish Armed Forces: 4,000 - 8,000[58][59]Ahrar al-Sham: 18,000–20,000+[60][61] (March 2017)SDF: 50,000+[65][66] Syrian Government:
63,820–98,820 soldiers killed[74][75]
48,814–62,814 militiamen killed[74][75]
4,700 soldiers and militiamen and 2,000 supporters captured[74]
Hezbollah:
1,630–1,800 killed[74][76]
Russia:
85 soldiers[77][78] and 208+ contractors killed
125,399–166,399 fighters killed[f][74][75]
979 protesters killed[80] DFNS:
3,834 killed[86][87][88]106,390[74]–110,218[93] (3,284 foreign; mostly Palestinian) civilian deaths documented by opposition
100 other foreign soldiers killed
( 60, 17 (pre-'16), 16, 7)ยอดรวมที่ถูกฆ่า:
353,593–498,593 (March 2018 SOHR estimate)[74]
470,000 (February 2016 SCPR estimate)[94]มากกว่า 7,600,000 internally displaced (July 2015 UNHCR estimate)a ตั้งแต่ต้นปี 2556 FSA มีการแยกศูนย์โดยกบฏต่าง ๆ ใช้ชื่อนี้แบบไม่เลือก
b ประเทศตุรกีให้การสนับสนุนอาวุธแก่ฝ่ายค้านซีเรียตั้งแต่ปี 2554 ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2559 ถึงมีนาคม 2560 ประเทศตุรกีต่อสู้ร่วมกับหน่วยทหารกบฏในเขตผู้ว่าการอะเลปโปต่อ SDF และ ISIL แต่ไม่รบกับรัฐบาลซีเรีย ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 ตุรกีรบกับ SDF และรัฐบาลซีเรียในอะฟริน
c ตั้งแต่เดือนกันยายนถึงพฤศจิกยน 2559 สหรัฐรบร่วมกับหน่วยทหารกบฏในเขตผู้ว่าการอะเลปโปต่อ ISIL เท่านั้น แต่ไม่รบกับรัฐบาลซีเรียหรือ SDF[96][97] ในปี 2560 สหรัฐเจตนาโจมตีรัฐบาลซีเรียหกครั้ง ขณะที่พลาดไปโดนฐานทัพซีเรียโดยอุับิตเหตุในเดือนกันยายน 2559 รัฐบาลซีเรียถือว่าครั้งนั้นเป็นการโจมตีโดยเจตนา[98]
d องค์การก่อนหน้า HTS (แนวร่วมอัลนุสเราะ) และองค์การก่อนหน้าของ ISIL (ISI) เป็นสาขาพันธมิตรของอัลกออิดะฮ์จนถึงเดือนเมษายน 2556 อัลนุสเราะปฏิเสธข้อเสนอรวมสองกลุ่มเข้าด้วยกันเป็น ISIL และอัลกออิดะฮ์ประกาศตัดความสัมพันธ์ทั้งหมดกับ ISIL ในเดือนกุมภาพันธ์ 2557
e อะห์รัรอัชชามและแนวร่วมอัลนุสเราะ องค์การก่อนหน้าของตะห์รีรุชชาม เคยเป็นพันธมิตรกันภายใต้ Army of Conquest ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2558 ถึงเดือนมกราคม 2560
สงครามกลางเมืองซีเรีย เป็นการขัดกันด้วยอาวุธหลายฝ่ายที่กำลังดำเนินอยู่ในประเทศซีเรีย โดยมีต่างชาติเข้าแทรกแซง ความไม่สงบเริ่มในต้นฤดูใบไม้ผลิปี 2554 ในบริบทการประท้วงอาหรับสปริง โดยมีการประท้วงทั่วประเทศต่อรัฐบาลประธานาธิบดีบัชชาร อัลอะซัด ซึ่งกำลังของเขาสนองโดยการปราบปรามอย่างรุนแรง ความขัดแย้งค่อย ๆ กลายจากการประท้วงของประชาชนเป็นการกบฏมีอาวุธหลังการล้อมทางทหารหลายเดือน[100] รายงานสหประชาชาติฉบับหนึ่งในปลายปี 2555 อธิบายความขัดแย้งว่า "มีสภาพนิยมนิกาย (sectarian) อย่างเปิดเผย" ระหว่างกำลังรัฐบาล ทหารอาสาสมัครซึ่งส่วนใหญ่เป็นอะละวี (Alawite) และกลุ่มชีอะฮ์อื่น[101] ต่อสู้กับกลุ่มกบฏซึ่งมีซุนนีครอบงำเป็นส่วนใหญ่[102][103] แม้ทั้งฝ่ายค้านและกำลังรัฐบาลต่างปฏิเสธ[104][105]ทีแรกรัฐบาลซีเรียอาศัยกองทัพเป็นหลัก แต่ตั้งแต่ปี 2557 หน่วยป้องกันท้องถิ่นซึ่งประกอบจากอาสาสมัครที่เรียก กำลังป้องกันชาติ (National Defence Force) ได้มีบทบาทมากขึ้น ค่อย ๆ กลายเป็นกำลังทหารหลักของรัฐซีเรีย รัฐบาลซีเรียได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิค การเงิน การทหารและการเมืองจากประเทศรัสเซีย อิหร่านและอิรักมาตั้งแต่ต้น ในปี 2556 ฮิซบุลลอฮ์ที่อิหร่านสนับสนุนเข้าร่วมสงครามโดยสนับสนุนกองทัพซีเรีย[106][107] รัสเซียเข้าร่วมปฏิบัติการทางอากาศตั้งแต่เดือนกัยายน 2558 เนื่องจากการเกี่ยวพันของต่างชาติ ความขัดแย้งนี้จึงถูกเรียกว่าเป็น สงครามตัวแทน ระหว่างชาติซุนนีและชีอะฮ์ภูมิภาค ที่สำคัญที่สุดคือความขัดแย้งตัวแทนระหว่างซาอุดีอาระเบียและอิหร่าน[108][109] ในเดือนกันยายน 2558 รัสเซีย อิรัก อิหร่านและซีเรียตั้งห้องปฏิบัติการร่วม (ศูนย์สารสนเทศ) ในกรุงแบกแดดเพื่อประสานงานกิจกรรมของพวกตนในประเทศซีเรีย วันที่ 30 กันยายน 2558 ประเทศรัสเซียเริ่มการทัพทางอากาศของตนโดยเข้ากับฝ่ายและด้วยคำขอของรัฐบาลซีเรีย จึงเกิดสงครามตัวแทนระหว่างสหรัฐและรัสเซีย[110][111][112][113] ซึ่งนักวิจารณ์บางส่วนบรรยายสถานการณ์ว่าเป็น "ก่อนสงครามโลกโดยมีประเทศเกือบโหลพัวพันในสองความขัดแย้งที่ทับซ้อนกัน"[114]ฝ่ายค้านมีอาวุธประกอบด้วยหลายกลุ่มซึ่งก่อตั้งในห้วงความขัดแย้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กองทัพซีเรียเสรี (FSA) ซึ่งเป็นผู้แรกที่หยิบอาวุธในปี 2554 และแนวร่วมอิสลามซึ่งก่อตั้งในปี 2556 ฝ่ายทางตะวันออก รัฐอิสลามอิรักและเลแวนต์ (ISIL) กลุ่มนักรบญิฮัดซึ่งกำเนิดในประเทศอิรัก ได้ชัยชนะทางทหารอย่างรวดเร็วทั้งในประเทศซีเรียและอิรัก จนลงเอยด้วยพิพาทกับกบฏอื่น ฝ่ายแนวร่วมนานาชาติที่มีสหรัฐเป็นผู้นำมีการสถาปนาขึ้นในปี 2557 โดยมีวัตถุประสงค์ที่ประกาศไว้ว่าเพื่อตอบโต้ ISIL และได้ดำเนินการโจมตีทางอากาศต่อ ISIL ในซีเรีย ตลอดจนเป้าหมายบะอัธซีเรียและให้การสนับสนุนต่อสหพันธรัฐประชาธิปไตยซีเรียเหนือ สหรัฐเลิกให้การสนับสนุนด้านอาวุธโดยตรงต่อ FSA ในปี 2560; ปลายปี 2560 อิทธิพลและดินแดนควบคุมของ ISIL เสื่อมลง จนซีเรียประกาศว่าประเทศได้รับการปลดปล่อยจาก ISIL แล้ว ด้านตุรกีมีความเกี่ยวข้องในสงครามตั้งแต่ปี 2559 และสนับสนุนฝ่ายค้านซีเรียอย่างแข็งขันและยึดพื้นที่ได้เป็นบริเวณกว้างทางภาคเหนือของประเทศซีเรียองค์การระหว่างประเทศกล่าวหารัฐบาลซีเรีย ISIL และกำลังฝ่ายค้านอื่นว่าละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรง โดยเกิดการสังหารหมู่หลายครั้ง[115][116][117][118][119] ความขัดแย้งนี้ทำให้เกิดการย้ายประชากรอย่างสำคัญ ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558[120] สหประชาชาติประกาศเริ่มการเจรจาสันติภาพซีเรียเจนีวาที่สหประชาชาติเป็นสื่อกลางอย่างเป็นทางการ โดยการสู้รบยังดำเนินไปโดยไม่มีทีท่าลดลง[121]

สงครามกลางเมืองซีเรีย

ผล ยังไม่สิ้นสุด
วันที่สถานที่ผลดินแดนเปลี่ยนแปลง
วันที่15 มีนาคม 2554 – ปัจจุบัน
(9 ปี 1 เดือน 3 สัปดาห์ 5 วัน)
สถานที่ประเทศซีเรีย (ลุกลามไปยังประเทศเพื่อนบ้านบ้าง)
ผลยังไม่สิ้นสุด
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง

ณ วันที่ 1 เมษายน 2561:

  • รัฐบาลถือครองพื้นที่ 55% ของประเทศ
  • SDF ถือครองพื้นที่ 26.6%
  • กลุ่มกบฏรวมทั้ง HTS และตุรกีถือครอง 12.3%
  • ISIL ถือครอง 6.1%[1]
สถานที่ ประเทศซีเรีย (ลุกลามไปยังประเทศเพื่อนบ้านบ้าง)
วันที่ 15 มีนาคม 2554 – ปัจจุบัน
(9 ปี 1 เดือน 3 สัปดาห์ 5 วัน)
ดินแดนเปลี่ยนแปลง

ณ วันที่ 1 เมษายน 2561:

  • รัฐบาลถือครองพื้นที่ 55% ของประเทศ
  • SDF ถือครองพื้นที่ 26.6%
  • กลุ่มกบฏรวมทั้ง HTS และตุรกีถือครอง 12.3%
  • ISIL ถือครอง 6.1%[1]

ใกล้เคียง

สงครามโลกครั้งที่สอง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สงครามเวียดนาม สงครามกลางเมืองอเมริกา สงครามอ่าว สงครามเกาหลี สงครามเย็น สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง สงครามแปซิฟิก สงครามครูเสด

แหล่งที่มา

WikiPedia: สงครามกลางเมืองซีเรีย http://www.thenational.ae/arts-culture/instead-of-... http://www.thenational.ae/world/middle-east/syria-... http://www.businessinsider.com.au/graphic-the-most... http://www.businessinsider.com.au/syrian-kurds-now... http://www.news.com.au/world/breaking-news/turkey-... http://mobile.abc.net.au/news/2014-06-05/syrias-as... http://www.cbc.ca/news/politics/government-positio... http://coat.ncf.ca/our_magazine/links/issue51/arti... http://english.aawsat.com/2017/01/article55366551/... http://www.aksalser.com/index.php?page=view_articl...