สงครามบอสเนีย
สงครามบอสเนีย

สงครามบอสเนีย

บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
 เฮิร์ตเซก-บอสเนีย
 โครเอเชีย สาธารณรัฐเซิร์ปสกา
สาธารณรัฐเซิร์บครายีนา
บอสเนียตะวันตก (ตั้งแต่ 1993)
สนับสนุน:
 FR Yugoslavia บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาb
 เฮิร์ตเซก-บอสเนีย
 โครเอเชีย
 องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (ปฏิบัติการทิ้งระเบิด, 1995) สาธารณรัฐเซิร์ปสกา
สาธารณรัฐเซิร์บครายีนา
บอสเนียตะวันตก
สนับสนุน:
 FR Yugoslavia Haris Silajdžić
(Prime Minister of Bosnia and Herzegovina)
Sefer Halilović
(ARBiH Chief of Staff 1992–1993) Rasim Delić
(ARBiH Commander of the General Staff 1993–1995)
Enver Hadžihasanović
(ARBiH Chief of Staff 1992–1993) Leighton W. Smith
(Commander of AFSOUTH)
…and others Gojko Šušak
(Minister of Defence of Croatia)
Janko Bobetko
(HV Chief of Staff)
Mate Boban
(President of Herzeg-Bosnia)
Milivoj Petković
(HVO Chief of Staff) สลอบอดัน พราลยัค
(HVO Chief of Staff)
…and others ราดอวาน คาราจิช
(President of Republika Srpska)
รัตโก มลาดิช
(VRS Chief of Staff) Fikret Abdić (President of AP Western Bosnia)
…and othersb ^ Between 1994 and 1995, the Republic of Bosnia and Herzegovina was supported and represented by both Bosnian Muslims and Bosnian Croats. This was primarily because of the Washington Agreement.สงครามบอสเนีย เป็นสงครามความขัดแย้งชาติพันธุ์ระหว่างชาวโครแอตที่เป็นคาทอลิก ชาวเซิร์บที่นับถือนิกายออร์ทอดอกซ์ และชาวบอสนีแอกซึ่งเป็นชาวมุสลิม สงครามปะทุในวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1992 เมื่อกองกำลังเซิร์บเริ่มโจมตีกรุงซาราเยโว หลังชาวเซิร์บก่อจลาจลเพื่อแยกตัวเป็นอิสระ ในขณะเดียวกันชาวโครแอตก็แยกดินแดนเป็นอิสระเช่นเดียวกัน ในช่วงสัปดาห์เดียวบอสเนียเกือบทั้งประเทศกลายเป็นทะเลเพลิงสงครามขยายวงกว้างและถูกระบุว่าเป็นสงครามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ โดยกองทัพชาวเซิร์บได้สังหารหมู่ชาวบอสนีแอก ในขณะเดียวกันชาวโครแอตก็ได้สังหารหมู่ชาวบอสนีแอกเช่นกัน การสังหารหมู่ครั้งใหญ่สุดคือที่สเรเบรนีตซาโดยกองกำลังชาวเซิร์บของรัตโก มลาดิช สหประชาชาติจึงร้องให้นาโตส่งทหาร ในที่สุดนาโตก็โจมตีกองกำลังชาวเซิร์บจนต้องยอมแพ้ ส่วนกองกำลังชาวโครแอตก็ได้ยอมจำนนจากการบีบบังคับจากรัฐบาลกลางโครเอเชีย สงครามบอสเนียจบลงเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1995 หลังมีการลงนามในความตกลงเดย์ตัน ซึ่งกำหนดให้ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาแบ่งเขตการปกครองออกเป็นสองเขต คือ สหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาซึ่งเป็นของชาวมุสลิมและโครแอต และสาธารณรัฐเซิร์ปสกาซึ่งเป็นของชาวเซิร์บ

สงครามบอสเนีย

วันที่สถานที่ผลลัพธ์
วันที่6 เมษายน ค.ศ. 1992 – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1995
(3 years, 8 months, 1 week and 6 days)
สถานที่สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ผลลัพธ์ไม่มีฝ่ายใดชนะ
สถานที่ สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ผลลัพธ์ ไม่มีฝ่ายใดชนะ
วันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1992 – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1995
(3 years, 8 months, 1 week and 6 days)

ใกล้เคียง

สงครามโลกครั้งที่สอง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สงครามเวียดนาม สงครามกลางเมืองอเมริกา สงครามเกาหลี สงครามเย็น สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง สงครามแปซิฟิก สงครามอ่าว สงครามครูเสด

แหล่งที่มา

WikiPedia: สงครามบอสเนีย http://www.prometej.ba/clanak/drustvo-i-znanost/sp... http://books.google.ca/books?id=1QbX90fmCVUC&print... http://books.google.ca/books?id=5tJflDgysEIC&print... http://books.google.ca/books?id=C21t6bdyv3cC&print... http://books.google.ca/books?id=FKLu2v2_KeIC&print... http://books.google.ca/books?id=KW82AAAAQBAJ http://books.google.ca/books?id=Y7mwpWxqXIUC&print... http://books.google.ca/books?id=dXMVsAW9bD8C&print... http://books.google.ca/books?id=mrKsiFjP778C&print... http://books.google.ca/books?id=oFXdiS25N78C&print...