สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ
สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ

สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ

สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ (อังกฤษ: Council for Mutual Economic Assistance) หรือ คอมิคอน (Comecon) เป็นองค์กรความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต ประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มตะวันออก และรัฐคอมมิวนิสต์บางแห่งทั่วโลกมอสโกกังวลเรื่องแผนมาร์แชลล์ คอมิคอนมีขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประเทศในขอบเขตอิทธิพลของโซเวียตไปสู่อิทธิพลของอเมริกาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คอมิคอนได้รับการตอบรับจากกลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) ถึงการก่อตัวในยุโรปตะวันตกขององค์การเพื่อการดำเนินงานทางเศรษฐกิจของยุโรป (OEEC)[1] การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในปี 1957 และองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1961

สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ

สำนักงานใหญ่ มอสโก, สหภาพโซเวียต
ชื่อย่อ COMECON, CMEA, CAME
ประเภท องค์กรเศรษฐกิจ
สมาชิก
องค์กรแม่ (see section for details)
ยุติ 28 มิถุนายน 1991
ก่อตั้ง 5–8 มกราคม 1949
ภูมิภาคที่รับผิดชอบ ทั่วโลก (หลัก ๆ คือกลุ่มตะวันออก และ รัฐคอมมิวนิสต์)
ผู้ก่อตั้ง  สหภาพโซเวียต
สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย
สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก
สาธารณรัฐประชาชนฮังการี
สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์
สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย

ใกล้เคียง

สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง สำเพ็ง สภาพแข็งทื่อหลังตาย สภาพนำยวดยิ่ง สภาเภสัชกรรม สภาพให้ซึมผ่านได้ทางแม่เหล็ก สภาพพลาสติกข้ามระบบประสาท สภาพพาสซีฟ สภาพแวดล้อมการสะสมของตะกอน