สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อังกฤษ: Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน[6] ในปี พ.ศ. 2553 จีดีพีของประเทศสมาชิกรวมกันคิดเป็นมูลค่าราว 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[7] คิดเป็นลำดับที่ 9 ของโลกเรียงตามจีดีพี อาเซียนมีภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ[8]อาเซียนมีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน ปฏิญญากรุงเทพฯ อาเซียนได้ถือกำเนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิกเริ่มต้น 5 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ[9] หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา อาเซียนมีรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศในปัจจุบัน กฎบัตรอาเซียนได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งทำให้อาเซียนมีสถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิ่งขึ้นเขตการค้าเสรีอาเซียนได้เริ่มประกาศใช้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2553 และกำลังก้าวสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยสามด้าน คือ ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558[10]

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เขมร:សមាគមប្រជាជាតិអាស៊ីអាគ្នេយ៍จีน:东南亚国家联盟ทมิฬ:தென்கிழக்காசிய நாடுகளின் கூட்டமைப்புไทย:สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พม่า:အရှေ့တောင်အာရှနိုင်ငံများအသင်းฟิลิปปินส์:Samahan ng mga Bansa sa Timog-Silangang Asyaมลายู:Persatuan Negara-Negara Asia Tenggaraลาว:ສະມາຄົມປະຊາຊາດແຫ່ງອາຊີຕະເວັນອອກສຽງໃຕ້เวียดนาม:Hiệp hội các quốc gia Đông Nam Áอินโดนีเซีย:Perhimpunan Bangsa-Bangsa Asia Tenggara เขมร:จีน:ทมิฬ:ไทย:พม่า:ฟิลิปปินส์:มลายู:ลาว:เวียดนาม:อินโดนีเซีย: សមាគមប្រជាជាតិអាស៊ីអាគ្នេយ៍
ลาว: ສະມາຄົມປະຊາຊາດແຫ່ງອາຊີຕະເວັນອອກສຽງໃຕ້
เวียดนาม: Hiệp hội các quốc gia Đông Nam Á
ทมิฬ: தென்கிழக்காசிய நாடுகளின் கூட்டமைப்பு
อินโดนีเซีย:
Perhimpunan Bangsa-Bangsa Asia Tenggara
มลายู: Persatuan Negara-Negara Asia Tenggara
เขมร: សមាគមប្រជាជាតិអាស៊ីអាគ្នេយ៍
เขตเวลา เวลามาตรฐานอาเซียน (UTC+6:30 ถึง UTC+9)
ไทย: สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
จีน: 东南亚国家联盟
ภาษาทางการ ภาษาอังกฤษ[2]
พม่า: အရှေ့တောင်အာရှနိုင်ငံများအသင်း
ฟิลิปปินส์: Samahan ng mga Bansa sa Timog-Silangang Asya

ใกล้เคียง

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สมาคมกีฬาโรมา สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมบาสเกตบอลแห่งชาติ สมาคมสร้างคุณค่า สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมสหพันธ์กีฬานานาชาติ สมาคมโรคหัวใจแห่งอเมริกา

แหล่งที่มา

WikiPedia: สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ http://www.dfat.gov.au/arf/ http://www.chinadaily.com.cn/china/2009-06/27/cont... http://geography.about.com/od/politicalgeography/a... http://www.asean-tourism.com/aboutasean/ http://www.aseannewsnetwork.com/ http://www.aseanports.com/ http://www.asian-aerocad.com/news/news.php?newsid=... http://aseansummit.bernama.com/ http://www.centreforaviation.com/aviation/index.ph... http://findarticles.com/p/articles/mi_m0WDP/is_200...