สหภาพยุโรป
สหภาพยุโรป

สหภาพยุโรป

สหภาพยุโรป (อังกฤษ: European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า[5] เกษตรกรรม[6] การประมงและการพัฒนาภูมิภาค[7] การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโรสหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล[8][9][10] องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรปสหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป[11] การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก[12] ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ[13] นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ[14] สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต

สหภาพยุโรป

อิตาลี: Unione europea
สโลวีเนีย: Evropska unija
เมืองใหญ่สุด ลอนดอน, ปารีส
สกุลเงิน
การปกครอง สหภาพเศรษฐกิจและการเมือง
สหภาพยุโรป บัลแกเรีย:Европейски съюзโครเอเชีย:Europska unijaเช็ก:Evropská unieเดนมาร์ก:Den Europæiske Unionดัตช์:Europese Unieเอสโตเนีย:Euroopa Liitฟินแลนด์:Euroopan unioniฝรั่งเศส:Union européenneเยอรมนี:Europäische Unionกรีก:Ευρωπαϊκή Ένωσηฮังการี:Európai Unióไอร์แลนด์:An tAontas Eorpachอิตาลี:Unione europeaลัตเวีย:Eiropas Savienībaลิทัวเนีย:Europos Sąjungaมอลตา:Unjoni Ewropeaโปแลนด์:Unia Europejskaโปรตุเกส:União Europeiaโรมาเนีย:Uniunea Europeanăสโลวัก:Európska úniaสโลวีเนีย:Evropska unijaสเปน:Unión Europeaสวีเดน:Europeiska unionenอังกฤษ:European Union บัลแกเรีย:โครเอเชีย:เช็ก:เดนมาร์ก:ดัตช์:เอสโตเนีย:ฟินแลนด์:ฝรั่งเศส:เยอรมนี:กรีก:ฮังการี:ไอร์แลนด์:อิตาลี:ลัตเวีย:ลิทัวเนีย:มอลตา:โปแลนด์:โปรตุเกส:โรมาเนีย:สโลวัก:สโลวีเนีย:สเปน:สวีเดน:อังกฤษ: Европейски съюз
ลัตเวีย: Eiropas Savienība
สเปน: Unión Europea
เดนมาร์ก: Den Europæiske Union
มอลตา: Unjoni Ewropea
เขตเวลา (UTC+0 ถึง +2)
นิติบัญญัติ
โปแลนด์: Unia Europejska
สวีเดน: Europeiska unionen
โปรตุเกส: União Europeia
โครเอเชีย: Europska unija
เอสโตเนีย: Euroopa Liit
สโลวัก: Európska únia
ภาษาราชการ
ฟินแลนด์: Euroopan unioni
ไอร์แลนด์: An tAontas Eorpach
เดมะนิม ยุโรป
รหัสโทรศัพท์ +3 และ +4
โดเมนบนสุด .eu
ลิทัวเนีย: Europos Sąjunga
เช็ก: Evropská unie
ดัตช์: Europese Unie
ฝรั่งเศส: Union européenne
ฮังการี: Európai Unió
กรีก: Ευρωπαϊκή Ένωση
เยอรมนี: Europäische Union
โรมาเนีย: Uniunea Europeană
อังกฤษ: European Union
บัลแกเรีย: Европейски съюз