ฮีเลียม
ฮีเลียม

ฮีเลียม

ฮีเลียม (อังกฤษ: Helium) เป็นธาตุเคมีที่มีสัญลักษณ์ว่า He และมีเลขอะตอมเท่ากับ 2 ฮีเลียมเป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่เป็นพิษ เฉื่อย มีอะตอมเดี่ยวซึ่งถูกจัดให้อยู่ในหมู่แก๊สมีตระกูลบนตารางธาตุ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของฮีเลียม มีค่าต่ำสุดกว่าบรรดาธาตุทั้งหมดในตารางธาตุ และมันจะปรากฏในอยู่รูปของแก๊สเท่านั้น ยกเว้นในสภาวะที่เย็นยิ่งยวด

ฮีเลียม

การออกเสียง /ˈhliəm/ hee-lee-əm
หมู่ คาบและบล็อก 18 (แก๊สมีตระกูล), 1, s
โครงสร้างผลึก เฮกซะโกนัลปิดบรรจุ

มวลอะตอมมาตรฐาน 4.002602[1](2)
รัศมีวานเดอร์วาลส์ 140 pm
เลขทะเบียน CAS 7440-59-7
สถานะ แก๊ส
การแยกครั้งแรก วิลเลียม แรมเซย์, เพอร์ ทีโอดอร์ คลีฟ, อับราฮัม แลงเล็ต (1895)
จุดหลอมเหลว (at 2.5 MPa) 0.95 K, −272.20 °C, −457.96 °F
ความหนาแน่น (0 °C, 101.325 kPa)
0.1786 g/L
ความเป็นแม่เหล็ก ไดอะแมกเนติก[3]
การตั้งชื่อ ตาม เฮลิออสเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ของชาวกรีก
ความหนาแน่นของเหลวที่จุดหลอมเหลว 0.145 g·cm−3
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
3He0.000137%*He เสถียร โดยมี 1 นิวตรอน
4He99.999863%*He เสถียร โดยมี 2 นิวตรอน
*Atmospheric value, abundance may differ elsewhere.
พลังงานไอออไนเซชัน ค่าที่ 1: 2372.3 kJ·mol−1
สถานะออกซิเดชัน 0
ความเร็วเสียง 972 m·s−1
ความร้อนของการหลอมเหลว 0.0138 kJ·mol−1
ความร้อนของการกลายเป็นไอ 0.0829 kJ·mol−1
ความหนาแน่นของเหลวที่จุดเดือด 0.125 g·cm−3
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม ฮีเลียม, He, 2
จุดร่วมสาม 2.177 K, 5.043 kPa
อิเล็กโตรเนกาติวิตี ไม่มีข้อมูล (Pauling scale)
รัศมีโควาเลนต์ 28 pm
จุดวิกฤต 5.1953 K, 0.22746 MPa
การค้นพบ ปิแอร์ แจนส์เซน, นอร์แมน ล็อกเยอร์ (1868)
การจัดเรียงอิเล็กตรอน 1s2
2
ชั้นพลังงานอิเล็กตรอนของฮีเลียม (2)
ความจุความร้อนโมลาร์ 5R/2 = 20.78[2] J·mol−1·K−1
จุดเดือด 4.222 K, −268.928 °C, −452.070 °F
สภาพนำความร้อน 0.1513 W·m−1·K−1
อนุกรมเคมี แก๊สมีตระกูล