โพแทสเซียม
โพแทสเซียม

โพแทสเซียม

โพแทสเซียม (อังกฤษ: Potassium) ธาตุเคมีในกลุ่มโลหะ มีเลขอะตอม 19 สัญลักษณ์ Kสัญลักษณ์ของโพแทสเซียม มาจากภาษาเยอรมันว่า Kalium[3] ส่วนชื่อโพแทสเซียม มาจากคำว่า โพแทส ซึ่งเป็นชื่อเรียกแร่ชนิดหนึ่งที่สกัดธาตุโพแทสเซียมได้ โพแทสเซียมเป็นโลหะอัลคาไล เป็นผงสีขาว-เงินอ่อน ๆ ในธรรมชาติมักเป็นสารประกอบร่วมกับธาตุอื่นเพราะไวต่อปฏิกิริยาเคมีมาก สามารถออกซิไดซ์ได้อย่างรวดเร็วในอากาศ มีสมบัติทางเคมีใกล้เคียงกับโซเดียม

โพแทสเซียม

การออกเสียง /pɵˈtæsiəm/ po-tas-ee-əm
หมู่ คาบและบล็อก 1 (โลหะแอลคาไล), 4, s
โครงสร้างผลึก รูปลูกบาศก์กลางตัว

มวลอะตอมมาตรฐาน 39.0983(1)
มอดุลัสของยัง 3.53 GPa
รัศมีวานเดอร์วาลส์ 275 pm
เลขทะเบียน CAS 7440-09-7
สถานะ ของแข็ง
การแยกครั้งแรก ฮัมฟรี เดวี (1807)
จุดหลอมเหลว 336.7 K, 63.5 °C, 146.3 °F
รัศมีอะตอม 227 pm
ความเป็นแม่เหล็ก พาราแมกเนติก[2]
ความหนาแน่นของเหลวที่จุดหลอมเหลว 0.828 g·cm−3
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
39K93.26%K เสถียร โดยมี 20 นิวตรอน
40K0.012%1.248(3)×109 yβ−1.31140Ca
ε1.50540Ar
β+1.50540Ar
41K6.73%K เสถียร โดยมี 22 นิวตรอน
พลังงานไอออไนเซชัน ค่าที่ 1: 418.8 kJ·mol−1
โมดูลัสของแรงบีบอัด 3.1 GPa
สถานะออกซิเดชัน +1
(strongly basic oxide)
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) 0.862 g·cm−3
สภาพนำไฟฟ้า (20 °C) 72 nΩ·m
ความร้อนของการหลอมเหลว 2.33 kJ·mol−1
ความร้อนของการกลายเป็นไอ 76.9 kJ·mol−1
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม โพแทสเซียม, K, 19
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 0.82 (Pauling scale)
รัศมีโควาเลนต์ 203±12 pm
จุดวิกฤต 2223 K, 16[1] MPa
การค้นพบ ฮัมฟรี เดวี (1807)
ความจุความร้อนโมลาร์ 29.6 J·mol−1·K−1
ความแข็งของบริเนลล์ 0.363 MPa
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Ar] 4s1
2, 8, 8, 1
ชั้นพลังงานอิเล็กตรอนของโพแทสเซียม (2, 8, 8, 1)
ความเร็วเสียง (thin rod) (ที่ 20 °C) 2000 m·s−1
การขยายตัวจากความร้อน (25 °C) 83.3 µm·m−1·K−1
ความแข็งของโมส์ 0.4
จุดเดือด 1032 K, 759 °C, 1398 °F
สภาพนำความร้อน 102.5 W·m−1·K−1
โมดูลัสของแรงเฉือน 1.3 GPa
อนุกรมเคมี โลหะแอลคาไล

ใกล้เคียง

โพแทสเซียม โพแทสเซียมคลอไรด์ โพแทสเซียมไซยาไนด์ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ โพแทสเซียมคาร์บอเนต โพแทสเซียมไบทาร์เทรต โพแทสเซียมฟลูออไรด์ โพแทสเซียมเตตระไอโอโดเมอคูเรต(II) โพแทสเซียมไอโอไดด์ โพแทสเซียม โคบอลติไนไตรต์