ไนโตรเจน
ไนโตรเจน

ไนโตรเจน

ไนโตรเจน (อังกฤษ: Nitrogen)[1] เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ N และเลขอะตอม 7 เป็นอโลหะที่มีสถานะเป็นแก๊สที่มีอยู่ทั่วไป โดยปกติไม่มีสี กลิ่น หรือรส แต่ละโมเลกุลมี 2 อะตอม ไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบของบรรยากาศ ของโลกถึง 78 เปอร์เซ็นต์ และเป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ไนโตรเจนยังเป็นส่วนประกอบในสารประกอบที่สำคัญหลายชนิด เช่น กรดอะมิโน แอมโมเนีย กรดไนตริก และสารจำพวกไซยาไนด์

ไนโตรเจน

การออกเสียง /ˈntrəən/ ny-trə-jən
หมู่ คาบและบล็อก 15 (นิคโตเจน), 2, p
โครงสร้างผลึก เฮกซะโกนัล

มวลอะตอมมาตรฐาน 14.007(1)
รัศมีวานเดอร์วาลส์ 155 pm
เลขทะเบียน CAS 7727-37-9
สถานะ แก๊ส
จุดหลอมเหลว 63.15 K, −210.00 °C, −346.00 °F
ความหนาแน่น (0 °C, 101.325 kPa)
1.251 g/L
ความเป็นแม่เหล็ก ไดอะแมกเนติก
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
13Nsyn9.965 minε2.22013C
14N99.634%N เสถียร โดยมี 7 นิวตรอน
15N0.366%N เสถียร โดยมี 8 นิวตรอน
พลังงานไอออไนเซชัน ค่าที่ 1: 1402.3 kJ·mol−1
สถานะออกซิเดชัน 5, 4, 3, 2, 1, −1, −2, −3
(ออกไซด์เป็นกรดแก่)
รัศมีอะตอม (คำนวณ) 56 pm
ความเร็วเสียง (gas, 27 °C) 353 m·s−1
ความร้อนของการหลอมเหลว (N2) 0.72 kJ·mol−1
ความร้อนของการกลายเป็นไอ (N2) 5.56 kJ·mol−1
ความหนาแน่นของเหลวที่จุดเดือด 0.808 g·cm−3
จุดร่วมสาม 63.151 K, 12.52 kPa
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม ไนโตรเจน, N, 7
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 3.04 (Pauling scale)
จุดวิกฤต 126.192 K, 3.3958 MPa
รัศมีโควาเลนต์ 71±1 pm
การค้นพบ แดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ด (1772)
ความจุความร้อนโมลาร์ (N2)
29.124 J·mol−1·K−1
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [He] 2s2 2p3
2, 5
ชั้นพลังงานอิเล็กตรอนของไนโตรเจน (2, 5)
ตั้งชื่อโดย ยีน-อองตวน แชปทอล (1790)
จุดเดือด 77.355 K, −195.795 °C, −320.431 °F
สภาพนำความร้อน 25.83 × 10−3 W·m−1·K−1
อนุกรมเคมี อโลหะวาเลนซ์เดียว