เชิงอรรถและอ้างอิง ของ Saccade

  1. ศ.พญ. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์ (พ.ศ. 2556). ประสาทกายวิภาคศาสตร์พื้นฐาน (ฺBasic neuroanatomy). กรุงเทพมหานคร: ศ.พญ. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์. p. 203. ISBN 978-616-335-105-0. Check date values in: |year= (help)
  2. ตามบทความภาษาอังกฤษ แต่ Merriam-Webster Collegiate Dictionary, 11th Edition ให้อ่านออกเสียงว่าแซะคาด
  3. 1 2 Cassin, B. and Solomon, S. Dictionary of Eye Terminology. Gainsville, Florida: Triad Publishing Company, 1990[ต้องการหน้า]
  4. optokinetic reflex เป็นการเคลื่อนไหวตาที่ไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจ เป็นการสลับกันระหว่างการเคลื่อนไหวตาแบบ smooth pursuit ในทิศทางหนึ่ง (เป็นระยะช้า หรือ slow phase) และแบบ saccades ในทางตรงกันข้าม (เป็นระยะเร็ว หรือ fast phase) ที่เกิดขึ้นเมื่อมองตามวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่จนสุดสายตาและตาจะกลับมามองตรงจุดที่เห็นวัตถุนั้นเป็นครั้งแรกอีก
  5. Javal, É (1878). "Essai sur la physiologie de la lecture". Annales d'Oculistique. 80: 61–73.
  6. Neil R., Carlson, and Donald Heth C. "5." Psychology: the science of behaviour, fourth Canadian edition. Toronto: Pearson, 2010. 140–141.
  7. 1 2 3 "Sensory Reception: Human Vision: Structure and function of the Human Eye" vol. 27, p. 179 Encyclopaedia Britannica, 1987
  8. Pierrot-Deseilligny, Charles (1995). "Cortical Control of Saccades". Annals of Neurology. 37 (5): 557–567. doi:10.1002/ana.410370504. PMID 7755349. Unknown parameter |month= ignored (help); Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  9. 1 2 PMID 6402272 (PubMed)
    Citation will be completed automatically in a few minutes. Jump the queue or expand by hand
  10. 1 2 Fischer, B.; Ramsperger, E. (1984). "Human express saccades: Extremely short reaction times of goal directed eye movements". Experimental Brain Research. 57. doi:10.1007/BF00231145.
  11. Hamm, J. P.; Dyckman, K. A.; Ethridge, L. E.; McDowell, J. E.; Clementz, B. A. (2010). "Preparatory Activations across a Distributed Cortical Network Determine Production of Express Saccades in Humans". Journal of Neuroscience. 30 (21): 7350–7. doi:10.1523/JNEUROSCI.0785-10.2010. PMC 3149561. PMID 20505102.
  12. microsaccade เป็นวิธีการปรับการทอดสายตาลงที่จุด ๆ หนึ่งอย่างหนึ่ง เป็นการเคลื่อนตาอย่างน้อย ๆ กระตุก ๆ ที่ไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจ คล้ายกับ saccade แบบน้อย ๆ (แต่ที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจ) มักจะเกิดขึ้นระหว่างการเพ่งสายตาเป็นระยะเวลาหนึ่ง (อย่างน้อยก็หลายวินาที) และไม่ได้เกิดขึ้นแต่ในมนุษย์เท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นในสัตว์ประเภทอื่นที่มีรอยบุ๋มจอตา (fovea) เช่นสัตว์อันดับวานรประเภทอื่น ๆ และแมวเป็นต้น แอมพลิจูดของ microsaccade เริ่มตั้งแต่ 2 จนไปถึง 120 arcminute
  13. ocular tremor หรือ ocular microtremor เป็นอาการสั่นของตามีความถี่สูง (สูงสุดที่ 80 เฮิรตซ์) มีแอมพลิจูดต่ำ (ประมาณ 150-2,500 นาโนเมตร) ที่มีอยู่อย่างตลอดเวลา ที่เป็นไปตามกายภาพ (ไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจ) เกิดขึ้นในคนปกติทั้งหมดแม้ว่าตาจะอยู่นิ่ง ๆ เนื่องจากการทำงานที่มีอยู่อย่างตลอดเวลาของระบบอ็อกคูโลมอเตอร์ในก้านสมอง
  14. PMID 12676246 (PubMed)
    Citation will be completed automatically in a few minutes. Jump the queue or expand by hand
  15. 1 2 Rommelse, Nanda N.J.; Van Der Stigchel, Stefan; Sergeant, Joseph A. (2008). "A review on eye movement studies in childhood and adolescent psychiatry". Brain and Cognition. 68 (3): 391–414. doi:10.1016/j.bandc.2008.08.025. PMID 18835079.
  16. opsoclonus เป็นอาการที่เคลื่อนไหวตาแบบควบคุมไม่ได้ เป็นการเคลื่อนไหวตาที่รวดเร็ว ไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจ เป็นไปหลายทิศทาง (ทั้งด้านตั้งและด้านขวาง) พยากรณ์ไม่ได้ เป็นไปร่วมกันทั้งสองตา (conjugate) โดยที่ไม่มี saccade ขั้นในระหว่าง บางครั้งมีแอมพลิจูดต่ำ อาการแบบนี้บางครั้งเรียกว่า saccadomania บ่อยครั้งเกิดกับกลุ่มอาการ myoclonus ในโรค opsoclonus myoclonus syndrome. เหตุของอาการนี้รวมทั้ง เนื้องอกร้ายของต่อมหมวกไตและสมองอักเสบในเด็ก มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด และมะเร็งรังไข่ในผู้ใหญ่ องค์ประกอบอย่างอื่นที่อาจมีส่วนเกี่ยวข้องรวมทั้งโรคมัลติเพิล สเกลอโรซิส สารพิษ และผลข้างเคียงของยา และสามารถเกิดจากรอยโรคที่นิวรอน omnipause ซึ่งเป็นนิวรอนที่ทำหน้าที่ห้ามการเคลื่อนไหวตาแบบ saccade (จนกว่าจะได้รับสัญญาณจาก superior collicus) โดยส่งสัญญาณยับยั้งแบบ burst ไปที่ paramedian pontine reticular formation (PPRF) ของสมองส่วนกลาง
  17. ocular flutter เป็นโรคประเภท opsoclonus อย่างหนึ่งที่ตามีการเคลื่อนไหวแบบ saccade รอบ ๆ จุดตรึงในลานสายตาที่ไม่ได้เป็นไปอยู่ตลอดเวลา
  18. Kommerell, G; Olivier, D; Theopold, H (1976). "Adaptive programming of phasic and tonic components in saccadic eye movements. Investigations of patients with abducens palsy". Investigative ophthalmology. 15 (8): 657–60. PMID 955831.
  19. Hopp, J.Johanna; Fuchs, Albert F (2004). "The characteristics and neuronal substrate of saccadic eye movement plasticity". Progress in Neurobiology. 72 (1): 27–53. doi:10.1016/j.pneurobio.2003.12.002. PMID 15019175.
  20. Ibbotson, M. R.; Crowder, N. A.; Cloherty, S. L.; Price, N. S. C.; Mustari, M. J. (2008). "Saccadic Modulation of Neural Responses: Possible Roles in Saccadic Suppression, Enhancement, and Time Compression". Journal of Neuroscience. 28 (43): 10952–60. doi:10.1523/JNEUROSCI.3950-08.2008. PMID 18945903.
  21. Land, MF (1999). "Motion and vision: Why animals move their eyes". Journal of comparative physiology. A, Sensory, neural, and behavioral physiology. 185 (4): 341–52. doi:10.1007/s003590050393. PMID 10555268.
  22. choroid เป็นชั้นท่อลำเลียงของตา ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue) และอยู่ระหว่างเรตินาและเปลือกลูกตา (sclera)
  23. Pettigrew, JD; Wallman, J; Wildsoet, CF (1990). "Saccadic oscillations facilitate ocular perfusion from the avian pecten". Nature. 343 (6256): 362–3. doi:10.1038/343362a0. PMID 14756148.