กติกาสัญญาไตรภาคี
กติกาสัญญาไตรภาคี

กติกาสัญญาไตรภาคี

เข้าร่วมภายหลัง:
กติกาสัญญาไตรภาคี (อังกฤษ: Tripartite Pact, ญี่ปุ่น: 日独伊三国間条約 ทับศัพท์นิชิโดะกุนิ ซังโงะกุกัง โจยะกุ) หรือ กติกาสัญญาเบอร์ลิน เป็นความตกลงทางการทหาร ทำขึ้นระหว่าง นาซีเยอรมนี, ราชอาณาจักรอิตาลี และ จักรวรรดิญี่ปุ่น ในปี ค.ศ. 1940 ซึ่งถือเป็นจุดกำเนิดของพันธมิตรฝ่ายอักษะ ซึ่งภายหลังก็ได้มีอีกหลาย ๆ ชาติร่วมลงนามในกติกาสัญญารูปแบบเดียวกันนี้ อันได้แก่ ฮังการี (20 พฤศจิกายน 1940), โรมาเนีย (23 พฤศจิกายน 1940), บัลแกเรีย (1 มีนาคม 1941) และ ยูโกสลาเวีย (25 มีนาคม 1941) ต่อมาการรัฐประหารในเบลเกรด เป็นตัวจุดชนวนให้อิตาลีและเยอรมนี เข้ารุกรานยูโกสลาเวีย (ตลอดจน บัลแกเรีย และ ฮังการี) ซึ่งการรุกรานครั้งนี้ทำให้รัฐอิสระโครเอเชีย ยอมเข้าร่วมฝ่ายอักษะในวันที่ 15 มิถุนายน 1941

กติกาสัญญาไตรภาคี

ภาคี  ไรช์เยอรมัน
 ราชอาณาจักรอิตาลี
จักรวรรดิญี่ปุ่น

เข้าร่วมภายหลัง:

ฮังการี
โรมาเนีย
 สโลวาเกีย
บัลแกเรีย
ยูโกสลาเวีย
โครเอเชีย
ประเภท พันธมิตรทางทหาร
วันลงนาม 27 กันยายน ค.ศ. 1940
ผู้ลงนาม โยอาคิม ริบเบนทรอพ
กาลีอาซโซ ซิอาโน
ซาบูโร คูรูซุ
สถานที่ เบอร์ลิน ไรช์เยอรมัน

ใกล้เคียง

กติกาฟุตบอล กติกาสัญญาวอร์ซอ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบินทร็อพ กติกาสัญญาไตรภาคี กติกาสัญญาเหล็ก กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง