พยาธิสรีรวิทยา ของ กระดูกงอก

ออสทีโอฟัยต์เกิดขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ผิวในข้อต่อที่บาดเจ็บ และพบบ่อยที่สุดในอาการของโรคข้ออักเสบ ออสทีโอฟัยต์โดยทั่วไปมักจำกัดการเคลื่อนไหวของข้อและก่อให้เกิดความเจ็บปวด[6]

ออสทีโอฟัยต์ตามข้อนิ้วมือและนิ้วเท้าเรียกว่าปุ่มกระดูกฮีเบอร์เดิน (ถ้าเป็นที่ข้อต่อระหว่างฟาแลงก์ส่วนปลาย) หรือ ปุ่มกระดูกบูชาร์ (ถ้าเป็นที่ข้อต่อระหส่างฟาแลงก์ส่วนต้น

แหล่งที่มา

WikiPedia: กระดูกงอก http://www.mercksource.com/pp/us/cns/cns_hl_dorlan... https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC17523... https://doi.org/10.1136%2Fard.56.2.85 https://doi.org/10.4314%2Fwajm.v24i2.28186 https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/9068279 https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16092317 https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10150240 https://books.google.com/books?id=zhgUAAAAQAAJ&q=i... http://www.mayoclinic.com/health/bone-spurs/DS0062... https://icd.who.int/browse10/2019/en#/M25.7