ข้อจำกัดของกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง ของ กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง

  • ประการแรก เลนส์นูนที่ในเกิดจากการที่แสงความยาวคลื่นต่างกัน(สีต่างกัน)จะหักเหผ่านเลนส์เป็นมุมไม่เท่ากันและโฟกัสที่จุดต่างๆกัน ไม่รวมเป็นจุดเดียว ภาพที่สังเกตผ่านกล้องจึงมีสีรุ้งอยู่ทั่วไปและไม่ชัดเจนนัก
ภาพปัญหาความคลาดรงค์ของเลนส์นูนของกล้องโทรทรรศน์หักเหแสง

บเลนส์วัตถุเพื่อปรับปรุงจุดโฟกัสของแสงสีต่างๆให้อยู่ที่จุดเดียวกัน โดยระบบเลนส์ใหม่นี้เรียนกว่า เลนส์อรงค์ (Achromatic Lens) แปลว่า "ไม่มีสีเพราะปัญหาสีรุ้งในภาพจะลดน้อยลงจนแทบสังเกตไม่เห็น" วิธีการใช้เลนส์อรงค์สร้างกล้องเป็นวิธีที่ค่อนข้างใหม่ แต่ในสมัยปี ค.ศ. 1669 เป็กๆ ทำให้ปัญหาความคลาดสีปรากฏให้เห็นน้อยลง ซึ่งก็เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยได้ แต่ตัวกล้องจะมีความยาวหลายสิบเมตรทำให้สังเกตได้ไม่คล่องตัวนัก ถ้าคิดว่าดีก็ทำต่อไปนะ

ภาพการใช้ช้เลนส์อรงค์แก้ปัญหาความคลาดรงค์ของเลนส์นูนของกล้องโทรทรรศน์หักเหแสง

ความคลาดรงค์และเลนส์อรงค์ความคลาดรงค์ เกิดจากธรรมชาติของแสงที่หักเหผ่านเลนส์ ซึ่งแสงแต่ละความยาวคลื่นจะรวมกันที่จุดโฟกัสต่างกัน ปัญหาความคลาดรงค์สามารถแก้ไข้ได้โดยตินเลนส์เว้าอีกชิ้นหนึ่งเข้ากับเลนส์นูน ซึ่งจะช่วยให้แสงต่างช่วงคลื่น(ต่างสี)มารวมกันที่จุดเดียวกัน เลนส์คู่นี้มีชื้อว่า เลนส์อรงค์ หรือ Achromatic Lens

  • ข้อจำกัดอีกประการหนึ่งของกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง คือ แสงแต่ละความยาวคลื่นจะถูกดูดกลืนไปโดยเลนส์ไม่เท่ากัน และแสงบางช่วงคลื่น เช่น รังสีอัตราไวโอเลตไม่สามารถผ่านเลนส์แก้วได้เลย หรือถูกดูดกลืนไปทั้งหมด นักดาราศาสตร์จึงไม่บบหักเหแสงสังเกตวัตถุท้องฟ้าในช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลตได้
  • ข้อจำกัดประการสุดท้าย คือ กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงมีราคาแพงมาก เมื่อเทียบกับกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงที่มีขนาดเท่ากัน ทั้งนี้เนื่องมาจากขั้นตอนที่ค่อนข้างซับซ้อนของการขัดเลนส์สำหรับสร้างกล้อง (การขัดเลนส์สำหรับกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงจำเป็นต้องขัดผิวแก้วทั้งสองด้าน ในขณะที่การขัดกระจกสำหรับกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงจะขัดเพียงด้านเดียวเท่ากันอีกที้งแก้วที่เลือกใช้เป็นวัสดุจะต้องเป็นแก้วคุณภาพสูงที่ปราศจากตำหนิใดๆ กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงส่วนใหญ่ในท้องตลาดจึงมีขนาดไม่เกิน180นิ้ว

กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงที่ใหญ่ทีสุดในโลกตั้งอยู่ที่หอดูดาวเ(Yerkes Observatory) ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีขนาดหน้ากล้อง3.69 เมตร (90นิ้ว) และมีความยาวกล้อง 700.2 เมตร

ใกล้เคียง

กล้อง กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน กล้องจุลทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ กล้องโทรทรรศน์ซูบารุ กล้องโทรทรรศน์ กล้องไร้กระจก กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดในอุโมงค์ กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์