กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น
กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น

กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น

กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น
กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่นDefense industry of Japan
มิตซูบิชิเฮฟวีอินดัสทรีส์
Mitsubishi Electric
Fuso (company)
โตโยต้า
Kawasaki Heavy Industries
IHI Corporation
Japan Marine United
Mitsui Engineering & Shipbuilding
NEC
Japan Radio Company
Toshiba
ฟูจิตสึ
Oki Electric Industry
Koito Manufacturing
Howa
Chugoku Kayaku
Toray Industries
Idemitsu Kosan
Daicel
Asahi-Seiki Manufacturing
ShinMaywa
Japan Steel Works
Subaru Corporation
MinebeaMitsumi
Komatsu Limited
Yamaha Motor Company
Kayaba Industryกองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: 自衛隊 โรมาจิじえいたい ทับศัพท์Jieitai, จิเอไต) หรือ JSDF บางครั้งเรียกว่า JSF หรือ SDF เป็นบุคลากรจากประเทศญี่ปุ่นที่ถูกจัดตั้งขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงเพื่อแทนที่กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นที่ถูกยุบ และฝ่ายสัมพันธมิตรยึดครองญี่ปุ่น ในเวลาหลังสงคราม กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นถูกใช้งานในเฉพาะภายในประเทศมีหน้าที่ในการป้องกันประเทศอธิปไตยชาติเพียงอย่างเดียวและไม่ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติภารกิจในต่างประเทศ ยกเว้นในสถานการณ์ที่เป็นการป้องกันตนเองในขอบเขตที่จำกัดเท่านั้น แม้อาจมีภารกิจในต่างประเทศในปฏิบัติการรักษาสันติภาพ แต่ล่าสุดในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ครม.ญี่ปุ่นได้ตีความรัฐธรรมนูญมาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่นใหม่สรุปได้ว่า กองกำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นจะสามารถส่งทหารไปปฏิบัติภารกิจการป้องกันตนเองร่วมได้(Collectvie-Self Defence) ตามมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพื่อปกป้องชาติหนึ่งจากการถูกรุกราน โดยญี่ปุ่นจะสามารถไปช่วยเหลือชาติพันธมิตรใกล้ชิดที่ถูกโจมตีได้ หากการโจมตีนั้นเป็นภัยคุกคามต่อการดำรงอยู่ของญี่ปุ่นและไม่มีวิธีอื่นในการปกป้องชีวิตชาวญี่ปุ่นในด้านการพัฒนาอาวุธ ในรธน.ญี่ปุ่นถูกกำหนดห้ามพัฒนาอาวุธในเชิงรุก ส่วนในด้านการห้ามส่งออกอาวุธนั้น แม้ญี่ปุ่นจะเป็นผู้กำหนดขึ้นเองเมื่อปีพ.ศ. 2510 แต่ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2557 ญี่ปุ่นได้ผ่อนคลายกฎห้ามส่งออกอาวุธ โดยสามารถส่งออกอาวุธและมีส่วนร่วมในการผลิตอาวุธกับนานาชาติได้ แต่ญี่ปุ่นจะไม่ส่งออกอาวุธให้แก่ประเทศที่ตกอยู่ท่ามกลางความขัดแย้ง หรืออาจเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพและความมั่นคงของนานาชาติ นอกจากนี้ การจำหน่ายอาวุธก็จะต้องเป็นไปเพื่อส่งเสริมสันติภาพสากลคือต้องเป็นยุทโธปกรณ์ที่ไม่ใช่เพื่อสังหาร และเป็นประโยชน์ต่อความมั่นคงของญี่ปุ่นเอง[4][5]ส่วนในด้านการสนันสนุนกองกำลังต่างชาติ ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศแก้ไขกฎบัตรว่าด้วยการสนับสนุนต่างชาติ โดยสามารถมอบทุนสนับสนุนภารกิจของกองกำลังต่างชาติที่มิใช่การสู้รบ[6]

กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น

ยอดกำลังประจำการ 247,150 (2018) (ranked 24th)
ยอดกำลังสำรอง 56,000 (2018)
ประชากรที่อายุถึงขั้นรับราชการทุกปี ชาย 623,365 (ปี 2010),
หญิง 591,253 (ปี 2010)
แหล่งผลิตในประเทศ [2]
อายุเริ่มบรรจุ 18–32ปี มีคุณสมบัติเหมาะสมสำหรับการเข้ารับราชการทหาร
แหล่งผลิตนอกประเทศ  สหรัฐ
 สหราชอาณาจักร
 เยอรมนี
 อิตาลี
 สวิตเซอร์แลนด์
 ฝรั่งเศส
 สวีเดน[3]
 ฟินแลนด์
ประชากรในวัยบรรจุ ชาย 27,301,443  อายุ 18–49 (ปี 2010),
หญิง 26,307,003  อายุ 18–49 (ปี 2010)
งบประมาณ US$47.3 พันล้าน (2018)[1]
(ranked 8th)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ตาโรอู โกอูโน
จอมทัพ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ชินโซ อาเบะ
ประชากรฉกรรจ์ ชาย 22,390,431 , อายุ 18–49 (ปี 2010),
หญิง 21,540,322 , อายุ 18–49 (ปี 2010)
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด พลเอก โกอูยี ยามาซากี
เหล่า กองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น

กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น
กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น

ที่ตั้ง บก. โตเกียว
ร้อยละต่อจีดีพี 0.9% (2020)

ใกล้เคียง

กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น กองกำลังทหารพรานจังหวัดชายแดนภาคใต้ กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น กองกำลังป้องกันติมอร์-เลสเต กองกำลังเดลตา กองกำลังตำรวจฮ่องกง กองกำลังสนาม กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น กองกำลังเฉพาะกิจปฏิบัติการเพื่อมนุษยธรรม 976 ไทย/อิรัก กองกำลังป้องกันฟินแลนด์