การตีโฉบฉวยแซ็ง-นาแซร์

47°16′30″N 2°11′48″W / 47.27500°N 2.19667°W / 47.27500; -2.19667พิกัดภูมิศาสตร์: 47°16′30″N 2°11′48″W / 47.27500°N 2.19667°W / 47.27500; -2.19667การตีโฉบฉวยแซ็ง-นาแซร์หรือปฏิบัติการแชร์เรียท เป็นการโจมตีสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบกที่ประสบความสำเร็จของอังกฤษบนอู่เรือแห้งทะเลนอร์ม็องดีที่ได้รับการคุ้มกันอย่างแน่นหนาที่แซ็ง-นาแซร์ในฝรั่งเศสภายใต้การยึดครองของเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการครั้งนี้ได้รับรองโดยราชนาวีและคอมมานโดบริติชภายใต้การอุปถัมภ์ของกองบัญชาการปฏิบัติการผสม เมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1942 แซ็ง-นาแซร์เป็นเป้าหมายเพราะการเสียท่าเรือแห้งจะเป็นการบีบบังคับให้กองเรือรบเยอรมันขนาดใหญ่ที่จำเป็นต้องซ่อมแซม เช่น เรือรบพี่น้องของเรือบิสมาร์คอย่างเทียร์พิตส์ เพื่อย้อนกลับไปยังบ้านทะเลที่ต้องผ่านทางช่องแคบอังกฤษหรือช่องว่างจีไอยูเค ซึ่งจะได้รับการคุ้มกันอย่างแน่นหนาโดยหน่วยบริติซรวมทั้งกองเรือบ้านเกิดแห่งราชนาวี แทนที่จะมีท่าจอดเรือที่มีอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกในฝรั่งเศสภายใต้การยึดครองของนาซี เรือพิฆาตที่ล้าสมัยอย่างเอชเอ็มเอส แคมพ์เบลทาวน์ (HMS Campbeltown) พร้อมกับเรือขนาดเล็กกว่า 18 ลำ ได้แล่นเรือข้ามช่องแคบอังกฤษไปยังชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกในฝรั่งเศสและเข้าสู่ประตูท่าเรือนอร์ม็องดี เรือลำนี้ได้ถูกบรรจุด้วยวัตถุระเบิดที่ถูกตั้งเวลาจุดฉนวน ซึ่งได้ถูกซ่อนตัวภายในพื้นที่อู่ต่อเรือแห้งที่ล้อมรอบด้วยเหล็กและคอนกรีต จากนั้นระเบิดก็ได้ทำงานในวันต่อมา ส่งผลทำให้อู่เรือต้องปิดตัวลงไปสำหรับส่วนที่เหลือของสงครามและถึงห้าปีต่อมากองกำลังของคอมมานโดได้ขึ้นเรือเพื่อทำลายเครื่องจักรและโครงสร้างอื่นๆ การยิงปืนอย่างหนักของเยอรมันที่หมายจะให้จม ก่อเพลิงไหม้ หรือตรึงเรือขนาดเล็กไว้ทั้งหมดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อขนส่งหน่วยคอมมานโดกลับไปยังอังกฤษ หน่วยคอมมานโดได้ต่อสู้ตีฝ่าไปยังเมืองเพื่อหลบหนีทางพื้นดิน หลายคนต่างยอมจำนนเมื่อกระสุนของพวกเขาหมดลงหรือถูกโอบล้อมโดยกองกำลังแห่งเวร์มัคท์ที่กำลังปกป้องแซ็ง-นาแซร์จากจำนวน 611 นายที่ได้เข้าร่วมการโจมตีครั้งนี้ 228 นายได้เดินทางกลับไปยังอังกฤษ, 169 นาย ถูกฆ่าตายและ 215 นายได้ตกเป็นเชลยศึก เยอรมันสูญเสียไปทั้งหมด 360 นาย บางคนที่ไม่รู้ว่าเป็นใครถูกฆ่าตายหลังโจมตีหเมื่อเรือแคมพ์เบลทาวน์ที่ได้ระเบิด เพื่อรับรู้ถึงความกล้าหาญของพวกเขา สมาชิก 89 นายของพรรคพวกจู่โจมได้รับการปูนบำเหน็จด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รวมทั้งวิตตอเรียคลอส ภายหลังสงคราม แซ็ง-นาแซร์ได้เป็นหนึ่งใน 38 ศึกอันทรงเกรียติเพื่อปูนบำเหน็จให้แก่หน่วยคอมมานโด ปฏิบัติการครั้งนี้ได้ถูกเรียกว่า การตีโฉบฉวยที่ใหญ่ที่สุดของทั้งหมดภายในวงการทหารอังกฤษ

การตีโฉบฉวยแซ็ง-นาแซร์

วันที่สถานที่ผลลัพธ์
วันที่28 มีนาคม ค.ศ. 1942
สถานที่แซ็ง-นาแซร์, ฝรั่งเศส

47°16′30″N 2°11′48″W / 47.27500°N 2.19667°W / 47.27500; -2.19667พิกัดภูมิศาสตร์: 47°16′30″N 2°11′48″W / 47.27500°N 2.19667°W / 47.27500; -2.19667

ผลลัพธ์บริติซชนะ
  • วัตถุประสงค์ทั้งหมดสำเร็จได้อย่างลุล่วง
  • เป้าหมายทั้งหมดถูกทำลาย
สถานที่ แซ็ง-นาแซร์, ฝรั่งเศส

47°16′30″N 2°11′48″W / 47.27500°N 2.19667°W / 47.27500; -2.19667พิกัดภูมิศาสตร์: 47°16′30″N 2°11′48″W / 47.27500°N 2.19667°W / 47.27500; -2.19667

ผลลัพธ์ บริติซชนะ
  • วัตถุประสงค์ทั้งหมดสำเร็จได้อย่างลุล่วง
  • เป้าหมายทั้งหมดถูกทำลาย
วันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1942

ใกล้เคียง

การตีโฉบฉวยดูลิตเติล การตีกรุงโรมแตก (ค.ศ. 410) การตีบ การตีโฉบฉวยเดียป การตีโฉบฉวยแซ็ง-นาแซร์ การตีฝ่าช่องแคบ การตีความฝัน (หนังสือ) การตีโฉบฉวยหมู่เกาะมาร์แชลล์–กิลเบิร์ต การตีโฉบฉวยที่คาบานาตวน การตีพิมพ์แบบเลือก