การวัด ของ การถ่ายเทยีน

ขนาดประชากรที่เล็กลงจะเพิ่มการเบนออกทางพันธุกรรมเนื่องจากการเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง ในขณะที่การอพยพจะลดการเบนออกและการผสมพันธุ์ในสายพันธุ์การโอนยีนสามารถวัดได้โดยใช้ ขนาดกลุ่มประชากรประสิทธิผล (effective population size, ตัวย่อ Ne)[upper-alpha 1] และอัตราการอพยพต่อชั่วยุค (m)ถ้าประมาณตามรูปแบบประชากรของเกาะ ผลของการอพยพสามารถคำนวณสำหรับกลุ่มประชากรเป็นระดับความแตกต่างทางพันธุกรรม ( F s t {\displaystyle Fst} )[6]สูตรนี้ได้เผื่อสัดส่วนความแตกต่างของ ตัวบ่งชี้ทางพันธุกรรม (genetic marker)[upper-alpha 2]ในกลุ่มประชากรต่าง ๆ ทั้งหมดโดยหารด้วยจำนวนโลคัส[7]เมื่อมีการอพยพหนึ่งหน่วยต่อรุ่น F s t {\displaystyle Fst} ก็จะเท่ากับ 0.2แต่ถ้ามีน้อยกว่า 1 (คือไม่มีการอพยพเลย) สัมประสิทธิ์การผสมพันธุ์ในสายพันธุ์ก็จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนเกิดการคงสภาพ (fixation) และการเบนออกทางพันธุกรรมอย่างสิ้นเชิง ซึ่งก็คือคือ F s t {\displaystyle Fst} = 1ค่า F s t {\displaystyle Fst} ที่สามัญที่สุด < 0.25ซึ่งแสดงว่ามีการอพยพบ้างค่าจะอยู่ในระหว่าง 0-1ผลอันตรายที่เกิดจากการผสมพันธุ์ในสายพันธุ์จะสามารถลดลงเนื่องจากการโอนยีนผ่านการอพยพ[1]

F s t = 1 / ( 4 N e m + 1 ) {\displaystyle Fst=1/(4N_{e}m+1)}

สูตรนี้สามารถเปลี่ยนเพื่อหาอัตราการอพยพถ้ารู้ค่า F s t {\displaystyle Fst} คือ

N m = 1 ( 1 / F s t − 1 ) / 4 {\displaystyle Nm=1(1/Fst-1)/4} โดย Nm = จำนวนหน่วยที่อพยพ[1]

ใกล้เคียง

การถ่ายโอนสัญญาณ การถ่ายภาพจอประสาทตา การถ่ายเทยีน การถ่ายเทความร้อน การถ่ายภาพรังสีระนาบด้วยการปล่อยโพซิตรอน การถ่ายเลือด การถ่ายภาพเคอร์เลียน การถ่ายทอดสดผ่านสัญญาณต่อเนื่อง การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ การถ่ายภาพทางดาราศาสตร์

แหล่งที่มา

WikiPedia: การถ่ายเทยีน http://www.rirdc.gov.au/reports/AFT/01-114.pdf http://www.nature.com/nature/journal/v441/n7090/ab... http://www2.nau.edu/~bah/BIO471/Reader/Pennisi_200... http://opbs.okstate.edu/~melcher/MG/MGW3/MG334.htm... http://web.uconn.edu/gogarten/articles/TIG2004_cla... http://www.inra.fr/sigmea //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10518550 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/11344292 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/11976447 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/12634804