กลไกรับความรู้สึก ของ การรับรู้ไฟฟ้า

การกำหนดที่ตั้งวัตถุด้วยไฟฟ้าแบบแอ๊กถีฟจะอาศัยตัวรับรู้ไฟฟ้ารูปหัวมันซึ่งไวต่อตัวกระตุ้นระหว่างความถี่ 20-20,000 เฮิรตซ์ตัวรับไฟฟ้าเช่นนี้จะมีตัวอุดเป็นเซลล์เยื่อบุผิว (epithelial cells) ซึ่งจับคู่ค่าเก็บประจุ (capacitance) ของเซลล์รับความรู้สึกกับสิ่งแวดล้อมภายนอกส่วนการกำหนดที่ตั้งวัตถุโดยไฟฟ้าแบบพาสซีฟที่ใช้กระเปาะจะไวต่อตัวกระตุ้นความถี่ต่ำกว่า 50 เฮิรตซ์ตัวรับไฟฟ้าจะประกอบด้วยช่องมีวุ้นเต็มเริ่มตั้งแต่ตัวรับความรู้สึกจนไปถึงผิวหนังส่วนปลาไฟฟ้าวงศ์ปลางวงช้างจากแอฟริกาใช้ตัวรับความรู้สึกรูปหัวมันที่เรียกว่า Knollenorgans เพื่อรับสัญญาณไฟฟ้าในการสื่อสาร

ใกล้เคียง

การรับรู้รส การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย การรับรู้อากัปกิริยา การรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ การรับรู้ไฟฟ้า การรักษามะเร็งแบบทางเลือก การรับรู้สนามแม่เหล็ก การรับมือโดยใช้อารมณ์ (จิตวิทยา) การรัดเท้า การรับรู้ความใกล้ไกล

แหล่งที่มา

WikiPedia: การรับรู้ไฟฟ้า http://www.cell.com/current-biology/abstract/S0960... http://www.honeybee.neurobiologie.fu-berlin.de/col... http://faculty.bennington.edu/~sherman/the%20ocean... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1692308 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3248726 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3351409 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3619523 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3973673 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10210663 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10210685