ค่าประสิทธิภาพของตัวประมวลผล ของ การวัดเปรียบเทียบสมรรถนะของคอมพิวเตอร์

โดยทั่วไปมักมีการเข้าใจที่ผิดว่าค่าความถี่ของสัญาณนาฬิกา (MHz, GHz) เพียงอย่างเดียว หรือค่าของจำนวนคำสั่งที่ทำเสร็จในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา (Instructions executed Per Clock, IPC) เพียงอย่างเดียวเป็นค่าประสิทธิภาพของตัวประมวลผล ในความเป็นจริงค่าประสิทธิภาพที่ถูกต้องของตัวประมวลผลคือค่าของความถี่สัญาณนาฬิกาและค่าของจำนวนคำสั่งที่ทำเสร็จในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา ดังสมการ [4, 5]

P e r f o r m a n c e = ( C l o c k F r e q u e n c y ∗ I P C ) {\displaystyle Performance=(ClockFrequency*IPC)}

การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของตัวประมวลผลจะสามารถทำได้ในสองลักษณะคือ การเพิ่มความถี่ของสัญญาณนาฬิกา หรือการเพิ่มค่าของ IPC ซึ่งการเพิ่มค่าของความถี่สัญญาณนาฬิกาสามารถเพิ่มได้โดยการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต (Manufacturing Process) และ IPC จะสามารถทำได้โดยการออกแบบโครงสร้างของตัวประมวลผลในระดับ Micro Architecture เพื่อให้ได้ตัวประมวลผลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานที่สูงที่สุด

ใกล้เคียง

การวัดแสง (ดาราศาสตร์) การวัดเปรียบเทียบสมรรถนะของคอมพิวเตอร์ การวัด การวัดความแข็งบริเนลล์ การวัดความอิ่มตัวออกซิเจนจากชีพจร การวัดแสง (ทัศนศาสตร์) การวัดการบีบตัวของหลอดอาหาร การวัดรังสี การวัดสายตา การวัดความซึมเศร้า