การวิเคราะห์ความจำนงในการรักษา

ในทางการแพทย์ การวิเคราะห์ความจำนงในการรักษา (อังกฤษ: intention-to-treat; ITT) มีเป้าหมายเพื่อกำจัดตัวแปรที่ชี้นำผิด ๆ (misleading artifacts) ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในงานวิจัยศึกษาการแทรกแซง ITT มีลักษณะเรียบง่ายกว่ารูปแบบอื่น ๆ ของการออกแบบงานวิจัยและวิเคราะห์ผลเนื่องจากไม่ต้องใช้การสังเกตสถานะคอมไพลแอนซ์ ถึงแม้การวิเคราะห์ ITT จะปรากฏใช้ในการทดลองทางคลินิกอย่างแพร่หลาย แต่ก็สามารถถูกบรรยายหรือตีความผิด ๆ และรวมถึงมีปัญหาในการนำไปประยุกต์ใช้จริงอยู่เช่นกัน[1] นอกจากนี้ ยังไม่มีข้อตกลงร่วมต่อวิธีการทำวิเคราะห์ ITT ในกรณีที่ปรากฏการขาดหายของข้อมูลผลวิจัย[2]

ใกล้เคียง

การวิเคราะห์อภิมาน การวิจัย การวิเคราะห์การใช้ การวิ่งทางไกล การวิเคราะห์ การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 การวิเคราะห์สวอต การวิจารณ์ภาพยนตร์ การวิเคราะห์เชิงซ้อน การวินิจฉัยทางการแพทย์

แหล่งที่มา

WikiPedia: การวิเคราะห์ความจำนงในการรักษา http://www.mja.com.au/ http://www.mja.com.au/public/issues/179_08_201003/... http://www.cmaj.ca/cgi/content/full/165/10/1339 http://bmj.bmjjournals.com/cgi/content/full/319/72... http://www.jerrydallal.com/LHSP/itt.htm http://people.bu.edu/mlava/ITT%20Workshop.pdf //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10480822 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/23166608 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC28218 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3499557